Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรี ขาวเธียร-
dc.contributor.advisorบุญยง โล่ห์วงศ์วัฒน-
dc.contributor.authorประกฤต ฉัตรแสงอุทัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-04T06:04:06Z-
dc.date.available2009-08-04T06:04:06Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743333134-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9589-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษาการทำเสถียรกากตะกรันจากเตาหลอมเหล็กด้วยไฟฟ้า โดยใช้วัสดุประสานชนิดต่างๆ เพื่อพิจารณาเลือกใช้ชนิดและสัดส่วนของวัสดุประสานที่เหมาะสมที่สุด ในการทำกากตะกรันจากเตาหลอมเหล็กให้เป็นก้อนแข็ง และมีคุณสมบัติเป็นไปตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2531) และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) กากตะกรันที่ใช้ทดลองเป็นกากตะกรันที่เกิดจากเตาหลอมเหล็ก ในกระบวนการผลิตเหล็กเส้น ซึ่งคาดว่าประเทศไทยจะมีกากตะกรันประเภทนี้ เกิดขึ้นประมาณ 45,300 ตันต่อปี กากตะกรันที่เกิดขึ้นมี 2 ประเภท ได้แก่ กากตะกรันดำ คือ กากตะกรันที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการกำจัดสารมลทินในน้ำเหล็ก และกากตะกรันขาว คือ กากตะกรันที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการปรับแต่งคุณภาพของน้ำเหล็ก กากตะกรันจากเตาหลอมเหล็กไฟฟ้านี้ ถูกจัดให้เป็นของเสียอันตรายจากแหล่งกำเนิดจำเพาะประเภทหรือจำเพาะชนิด ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) ผลการศึกษาพบว่า ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เป็นวัสดุประสานที่เหมาะสมที่สุด ในการทำกากตะกรันทั้ง 2 ชนิดให้เป็นก้อนแข็ง โดยประหยัดค่าใช้จ่ายที่สุดและมีค่ากำลังรับแรงอัดมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุประสานชนิดอื่น คือ ปูนซีเมนต์ผสมปูนขาว ปูนซีเมนต์ผสมโซเดียมซิลิเกต และปูนซีเมนต์ผสมปูนขาวผสมโซเดียมซิลิเกต ที่อัตราส่วนที่เท่ากัน และพบว่าอัตราส่วนผสมปูนซีเมนต์ที่ร้อยละ 15 เทียบกับน้ำหนักของกากตะกรันทั้ง 2 ประเภท และที่อัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.7 เป็นสัดส่วนที่ประหยัดค่าใช้จ่ายที่สุด โดยมีค่ากำลังรับแรงอัดผ่านมาตรฐานของกระกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2531) ความหนาแน่นและปริมาณโลหะหนักในน้ำสกัด ผ่านมาตรฐานของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) สำหรับค่าใช้จ่ายซึ่งประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการทำให้เป็นก้อน ค่าขนส่งไปยังหลุมฝังกลบ และค่าฝังกลบที่ศูนย์บริการกำจัดกากอุตสาหกรรม จังหวัดราชบุรี ในการกำจัดกากตะกรันจากเตาหลอมเหล็กไฟฟ้าทั้ง 2 ชนิด รวมกัน เท่ากับ 1,230 บาท ต่อตันกากตะกรันหรือเท่ากับ 73.80 บาท ต่อการผลิตเหล็กเส้น 1 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.75 ของราคาเหล็กเส้นen
dc.description.abstractalternativeInvestigated type and mixing ratio of binders for the stabilization/solidification of electric arc furnace slags and meeting the solidified standards promulgated by the Ministry of Industry No.1/B.E. 2531 and No.6/B.E. 2540. An estimate of 45,300 ton/year of slage were generated from electric arc furnaces producing steel rod. There were two types of electric arc furnace slags which were black and white slag. The black slag was generated from the purifying process and the white slag was generated from the refining process. According to the notification of the Ministry of Industry No.6 (B.E. 2540), electric arc furnace slag had been classified as specific sources hazardous wastes. The results of the solidification unveiled that portland cement was the most appropriate binder in terms of economical and the compressive strength compared to other binders, which were a mixture of portland cement and lime, a mixture of portland cement and sodium silicate, and a mixture of portland cement and lime and sodium silicate, of equal mixing ratios. It was also found that the optimum mixing ratios for the portland cement were 15 percent and the water/cement ratio were 0.7 for both black slag and white slag. The density and concentration of heavy metals in extractant also met the solidified standard promulgated by the Ministry of Industry. The estimated cost for the stabilization/solidification of the slags, included the solidification cost, the transportation cost and the cost for disposal in the secured landfill at Rajburi of the Ministry of Industry, were about 1,230 baht per ton of slags or equal to 73.80 baht per ton of steel rod or 0.75 percent of the price of steel rod.en
dc.format.extent852172 bytes-
dc.format.extent727531 bytes-
dc.format.extent702995 bytes-
dc.format.extent1365813 bytes-
dc.format.extent981776 bytes-
dc.format.extent1728171 bytes-
dc.format.extent736175 bytes-
dc.format.extent741217 bytes-
dc.format.extent1375412 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectของเสียอันตรายen
dc.subjectเหล็กเส้นen
dc.subjectของเสียอันตราย -- การทำให้เป็นของแข็งen
dc.subjectปูนซีเมนต์en
dc.titleการทำเสถียรกากตะกรันจากเตาหลอมเหล็กไฟฟ้า ด้วยปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์และ/หรือปูนขาวen
dc.title.alternativeStabilization of arc furnace slag using portland cement and/or limeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorBoonyong.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prakit_Ch_front.pdf832.2 kBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch1.pdf710.48 kBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch2.pdf686.52 kBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch3.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch4.pdf958.77 kBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch5.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch6.pdf718.92 kBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_ch7.pdf723.84 kBAdobe PDFView/Open
Prakit_Ch_back.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.