DSpace Repository

พฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมในธุรกิจค้าปลีก

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศักดา ธนิตกุล
dc.contributor.author จิรัตน์ เขียวชอุ่ม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-09-02T02:25:18Z
dc.date.available 2009-09-02T02:25:18Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741733402
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10939
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en
dc.description.abstract ศึกษาพฤติกรรมการแข่งขันในธุรกิจค้าปลีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมการแข่งขันของดิสเคาน์สโตร์ ที่มีการขยายตัวอย่างมากจนส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ต่อธุรกิจค้าปลีกของประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าดิสเคาน์สโตร์มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีระบบการกระจายสินค้าเป็นของตนเอง และมีการขยายสาขาจนเกิดการประหยัดต่อขนาด ทำให้ดิสเคาน์สโตร์เป็นธุรกิจค้าปลีกที่มีอำนาจต่อรองหรืออำนาจซื้อที่สูง และมีพฤติกรรมในการใช้อำนาจซื้อดังกล่าวไปในทางมิชอบเรียกร้องส่วนลด ค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมต่างๆ จากซัพพลายเออร์จนเกินสมควร และใช้ความได้เปรียบนี้โดยพฤติกรรมการแข่งขันด้านราคาอย่างไม่เป็นธรรม มีการขายสินค้าต่ำกว่าทุน เลือกปฏิบัติทางด้านราคา อันเข้าข่ายเป็นการกระทำความผิดตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 แต่อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมดังกล่าวเกิดขึ้นเพราะความจำเป็นในการดำเนินธุรกิจ จากสภาพการแข่งขันอย่างรุนแรงในธุรกิจค้าปลีก และพฤติกรรมเหล่านั้นยังก่อให้เกิดผลดีต่อผู้บริโภค ดังนั้นพฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมดังกล่าว จึงเป็นทั้งพฤติกรรมที่ทำลายการแข่งขัน และเป็นพฤติกรรมที่ทำให้เกิดผลดีทางเศรษฐกิจในขณะเดียวกัน ผู้เขียนจึงใคร่ขอเสนอแนะว่า ควรมีการแก้ไขมาตรา 29 พระราชบัญญัติว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 โดยเพิ่มเติมหลักการขอรับการอนุญาต ในการกระทำพฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม จากคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการบังคับใช้กฎหมาย en
dc.description.abstractalternative To study the trade practices in retail business, particularly on the trade practices of the discount stores where now have extremely expanded. This event has the strong impact to the retail businesses in Thailand. According to this studying, the discount stores have developed the information technologies, own distribution system goods and the expansion of their branch which are making the economies of scale. As a result of that, it appears that discount stores have the highly buying power and unfair trade practices to buy the goods for instance: asking for the over discount, expense and other fees from supplier, using this advantage by having the unfair trade practices to seize the market portion. Furthermore, discount stores have sold the goods at loss and have price discrimination, which violates the Competition Trade Act B.E. 2542 article 29. Nevertheless, such practices have occurred as because this kind of business has the extreme competition, which stipulate the good effect to the consumer. Therefore, such practices can be both of the damaging of competition and the good effect for economy at the same time. The author would like to propose that there should be the amendment of article 29 of the Competition Act B.E. 2542 by adding the principle of the applying the approval from the competition commission for the necessary and reasonable unfair trade practices as for the flexibility of the law practice. en
dc.format.extent 4368128 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม en
dc.subject การขายปลีก en
dc.subject ดิสเคานท์สโตร์ en
dc.subject พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 en
dc.subject การแข่งขันทางการค้า en
dc.title พฤติกรรมการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมในธุรกิจค้าปลีก en
dc.title.alternative Unfair trade practices in retail business en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Sakda.T@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record