DSpace Repository

อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการคุมคามจากภาพในความคิดต่อผลงานด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธีระพร อุวรรณโณ
dc.contributor.author พรพรรณ สิกขมาน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2009-09-22T06:45:56Z
dc.date.available 2009-09-22T06:45:56Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11239
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการคุกคามจาก ภาพในความคิดของผู้หญิงในด้านคณิตศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 จำนวน 116 คน รูปแบบการวิจัยเป็นแบบ 2 (การกำกับการแสดงออกของตน: สูงและต่ำ) x 2 (การจัด กระทำเรื่องสถานการณ์ในการเป็นคนส่วนน้อยของกลุ่ม: เงื่อนไขที่ผู้หญิงเป็นคนส่วนน้อยของกลุ่มและ เงื่อนไขที่สมาชิกกลุ่มเป็นเพศหญิงทุกคน) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของ ตนต่ำที่อยู่ในเงื่อนไขที่ผู้หญิงเป็นคนส่วนน้อยของกลุ่มได้คะแนนในการทำแบบทดสอบทางด้าน คณิตศาสตร์ด้อยกว่าผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่อยู่ในเงื่อนไขที่ผู้หญิงเป็นคนส่วน น้อยของกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำที่ อยู่ในเงื่อนไขที่สมาชิกกลุ่มเป็นเพศหญิงทุกคนได้คะแนนในการทำแบบทดสอบทางด้านคณิตศาสตร์ ไม่แตกต่างกันกับผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่อยู่ในเงื่อนไขที่สมาชิกกลุ่มเป็นเพศหญิง ทุกคน 3. ผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำที่อยู่ในเงื่อนไขที่ผู้หญิงเป็นคนส่วนน้อยของกลุ่ม ได้คะแนนในการทำแบบทดสอบทางด้านคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกันกับผู้หญิงทีมีการกำกับการแสดงออก ของตนต่ำที่อยู่ในเงื่อนไขที่สามาชิกลุ่มเพศหญิงทุกคน 4. ผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูง ที่อยู่ในเงื่อนไขที่ผู้หญิงเป็นคนส่วนน้อยของกลุ่มได้คะแนนในการทำแบบทดสอบทางด้านคณิตศาสตร์ ไม่แตกต่างกันกับผู้หญิงที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่อยู่ในเงื่อนไขที่สมาชิกกลุ่มเป็นเพศหญิง ทุกคน en
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to examine the influence of self-monitoring and stereotype threat on mathematics performance of female high school students. Participants were 116 female high school students (Mathayom suksa 4-5). Analyses were conducted as a 2 (self-monitoring: high, low) X 2 (condition: minority, all female) factorial design. The results are as follows: 1. Among females in the minority condition, those who are low in self-monitoring have significantly lower mathematic performance than those who are high in self-monitoring (p < .01) 2. Among females in the all female condition, those who are low in self-monitoring do not differ significantly on mathematics performance from those who are high in self-monitoring. 3. Among the low self-monitoring females, those in the minority condition do not differ significantly on mathematics performance from those in the all female condition. 4. Among the high self-monitoring females, those in the minority condition do not differ significantly on mathematics performance from those in the all female condition. en
dc.format.extent 1395592 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1363
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject มโนภาพลักษณะบุคคล en
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา en
dc.subject คณิตศาสตร์ en
dc.subject สตรี en
dc.title อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการคุมคามจากภาพในความคิดต่อผลงานด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย en
dc.title.alternative Influences of self-monitoring and stereotype threat on mathematics performance of female high school students en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Theeraporn.U@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.1363


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record