DSpace Repository

ความมีคุณค่าของรายงานการสอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor วชิระ บุณยเนตร
dc.contributor.author ภิญญาพัชญ์ เรืองวิริยะ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2009-09-22T07:11:34Z
dc.date.available 2009-09-22T07:11:34Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11253
dc.description วิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวกับความมีคุณค่าของรายงานการสอบบัญชี (Information Content of Auditor Report) ต่อผลตอบแทนที่ไม่ปกติสะสมของหลักทรัพย์ (Cumulative Abnormal Return) การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงประจักษ์โดยใช้กลุ่มตัวอย่างของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2547 – 2548 การศึกษาในครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนา (ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติเชิงอนุมาน (การวิเคราะห์เชิงถดถอยเชิง พหุคูณ) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ณ ระดับความเชื่อมั่น 90% ผลการศึกษาพบว่ารายงานการสอบบัญชี แบบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified Audit reports) ปีแรก และรายงานการสอบบัญชีแบบที่แสดงความเห็น อย่างไม่มีเงื่อนไข (Clean Audit reports) ไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญทางสถิติต่อผลตอบแทนที่ ไม่ปกติสะสมของหลักทรัพย์ นอกจากนั้นการศึกษาครั้งนี้พบว่ารายงานการสอบบัญชีเกี่ยวกับการเปลี่ยน นโยบายบัญชีมีผลกระทบต่อผลตอบแทนที่ไม่ปกติสะสมของหลักทรัพย์ การวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ ยังใช้ตัวแปรควยคุมที่อาจมีผลกระทบโดยตรงต่อผลตอบแทนที่ไม่ปกติสะสมของหลักทรัพย์ โดยพบว่า (1) กำไรสุทธิ (2) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน และ (3) การกระทำความผิดของหน่วยงานกำกับ ดูแล มีผลกระทบต่อผลตอบแทนที่ไม่ปกติสะสมของหลักทรัพย์ แม้การศึกษาในครั้งนี้มิได้ให้ข้อบ่งชี้ว่า รายงานการสอบบัญชีสามารถใช้ในการพยากรณ์ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในอนาคตได้อย่างไรก็ตาม นักลงทุนมิอาจมองข้ามข้อมูลในรายงานการสอบบัญชี เนื่องจากมีหลักฐานเชิงประจักษ์ว่ารายงาน การสอบบัญชีมีผลกระทบต่อผลตอบแทนที่มี่ปกติสะสม นักลงทุนควรใช้รายงานการสอบบัญชี ร่วมกับข้อมูลอื่น เช่น กำไรสุทธิ กระแสเงินสด เพื่อเพิ่มการตัดสินใจลงทุนให้มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น en
dc.description.abstractalternative The study investigated the information content of auditor reports towards cumulative abnormal return. Empirical study was selected in this study. The sample included the Thai listed companies during the year 2004 to 2005. Both descriptive statistics (Frequency Proportion Minimum Maximum Mean and Standard Deviation) and inferential statistics (Multiple Regression) were used to analyze the data. At the 90% confidential level, the study pointed out that first time modified audit reports and clean audit reports had no statistical influence to cumulative abnormal return. However, auditor reports relating to changes in accounting policy provides statistical significant to cumulative abnormal return. This study also attempted to minimize the risk by controlling other factors that could be correlated with cumulative abnormal return. It was found that (1) net income, (2) cash flows from operating activities and (3) wrongdoings to regulations were statically significant to cumulative abnormal return. The contribution of this study pointed out that investors should not ignore auditor reports, the empirical evidence of this study showed auditor reports reflected to cumulative abnormal return. Investor are recommended to pay attention to auditor reports together with other information such as net income, cash flows statements to have better decision making. en
dc.format.extent 1552459 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.341
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject บริษัทมหาชน en
dc.subject การสอบบัญชี en
dc.title ความมีคุณค่าของรายงานการสอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประทศไทย en
dc.title.alternative The information content of auditor report of listed companies in the stock exchange of Thailand en
dc.type Thesis es
dc.degree.name บัญชีมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline การบัญชี es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor wachira@acc.chula.ac.th, Wachira.B@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.341


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record