Abstract:
วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการค้าและการลงทุน ระหว่างไทยกับเวียดนามระหว่างปี ค.ศ. 1988-1997 โดยในปี ค.ศ. 1988 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำริที่จะปรับความสัมพันธ์กับ 3 ประเทศอินโดจีน โดยเฉพาะเวียดนาม ด้วยการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า ซึ่งสอดคล้องกับที่เวียดนามเริ่มหันมาเปิดประเทศต้อนรับการลงทุนจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ตระหนักถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่กำลังเติบโต และพร้อมจะขยายตัวต่อไปในอนาคต จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ไทยจะเข้าไปบุกเบิกตลาดการค้า-การลงทุน อันจะเอื้อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศในฐานะหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจร่วมกัน แต่ปรากฏว่ากระทั่งถึงปี ค.ศ. 1997 ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยกับเวียดนามกลับมีทิศทางการขยาย ตัวในอัตราต่ำ ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายมุ่งสู่อินโดจีนตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จากการศึกษาพบว่าการที่ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยและ เวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำนั้นเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการได้แก่ ประการแรก การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทยแต่ละสมัยขาดความต่อเนื่อง และประการที่สอง นักธุรกิจไทยประสบปัญหาในการดำเนินธุรกิจกับเวียดนาม อันเป็นผลพวงมาจากสาเหตุที่ 1 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในเวียดนามด้วย ได้แก่ การที่เวียดนามยังมีระบบการบริหารงานแบบคอมมิวนิสต์ รวมถึงกฎระเบียบการค้า-การลงทุนที่ยังคลุมเครือ ตลอดจนการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ อาทิ การสื่อสาร, การคมนาคม, กาวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการค้าและการลงทุน ระหว่างไทยกับเวียดนามระหว่างปี ค.ศ. 1988-1997 โดยในปี ค.ศ. 1988 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำริที่จะปรับความสัมพันธ์กับ 3 ประเทศอินโดจีน โดยเฉพาะเวียดนาม ด้วยการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า ซึ่งสอดคล้องกับที่เวียดนามเริ่มหันมาเปิดประเทศต้อนรับการลงทุนจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ตระหนักถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่กำลังเติบโต และพร้อมจะขยายตัวต่อไปในอนาคต จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ไทยจะเข้าไปบุกเบิกตลาดการค้า-การลงทุน อันจะเอื้อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศในฐานะหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจร่วมกัน แต่ปรากฏว่ากระทั่งถึงปี ค.ศ. 1997 ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยกับเวียดนามกลับมีทิศทางการขยาย ตัวในอัตราต่ำ ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายมุ่งสู่อินโดจีนตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จากการศึกษาพบว่าการที่ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยและ เวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำนั้นเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการได้แก่ ประการแรก การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทยแต่ละสมัยขาดความต่อเนื่อง และประการที่สอง นักธุรกิจไทยประสบปัญหาในการดำเนินธุรกิจกับเวียดนาม อันเป็นผลพวงมาจากสาเหตุที่ 1 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในเวียดนามด้วย ได้แก่ การที่เวียดนามยังมีระบบการบริหารงานแบบคอมมิวนิสต์ รวมถึงกฎระเบียบการค้า-การลงทุนที่ยังคลุมเครือ ตลอดจนการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ อาทิ การสื่อสาร, การคมนาคม, กาวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการค้าและการลงทุน ระหว่างไทยกับเวียดนามระหว่างปี ค.ศ. 1988-1997 โดยในปี ค.ศ. 1988 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำริที่จะปรับความสัมพันธ์กับ 3 ประเทศอินโดจีน โดยเฉพาะเวียดนาม ด้วยการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า ซึ่งสอดคล้องกับที่เวียดนามเริ่มหันมาเปิดประเทศต้อนรับการลงทุนจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ตระหนักถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่กำลังเติบโต และพร้อมจะขยายตัวต่อไปในอนาคต จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ไทยจะเข้าไปบุกเบิกตลาดการค้า-การลงทุน อันจะเอื้อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศในฐานะหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจร่วมกัน แต่ปรากฏว่ากระทั่งถึงปี ค.ศ. 1997 ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยกับเวียดนามกลับมีทิศทางการขยาย ตัวในอัตราต่ำ ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายมุ่งสู่อินโดจีนตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จากการศึกษาพบว่าการที่ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยและ เวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำนั้นเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการได้แก่ ประการแรก การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทยแต่ละสมัยขาดความต่อเนื่อง และประการที่สอง นักธุรกิจไทยประสบปัญหาในการดำเนินธุรกิจกับเวียดนาม อันเป็นผลพวงมาจากสาเหตุที่ 1 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในเวียดนามด้วย ได้แก่ การที่เวียดนามยังมีระบบการบริหารงานแบบคอมมิวนิสต์ รวมถึงกฎระเบียบการค้า-การลงทุนที่ยังคลุมเครือ ตลอดจนการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ อาทิ การสื่อสาร, การคมนาคม, การโทรคมนาคม และ การก่อสร้าง ก็ล้วนแต่เป็นอุปสรรคที่ทำให้การค้า-การลงทุนระหว่างไทยและเวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำทั้งสิ้น