dc.contributor.advisor |
ชัยโชค จุลศิริวงศ์ |
|
dc.contributor.author |
นภารัตน์ พิรวัฒนกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.coverage.spatial |
เวียดนาม |
|
dc.date.accessioned |
2009-11-10T03:50:58Z |
|
dc.date.available |
2009-11-10T03:50:58Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.isbn |
9740312993 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11657 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการค้าและการลงทุน ระหว่างไทยกับเวียดนามระหว่างปี ค.ศ. 1988-1997 โดยในปี ค.ศ. 1988 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำริที่จะปรับความสัมพันธ์กับ 3 ประเทศอินโดจีน โดยเฉพาะเวียดนาม ด้วยการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า ซึ่งสอดคล้องกับที่เวียดนามเริ่มหันมาเปิดประเทศต้อนรับการลงทุนจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ตระหนักถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่กำลังเติบโต และพร้อมจะขยายตัวต่อไปในอนาคต จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ไทยจะเข้าไปบุกเบิกตลาดการค้า-การลงทุน อันจะเอื้อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศในฐานะหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจร่วมกัน แต่ปรากฏว่ากระทั่งถึงปี ค.ศ. 1997 ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยกับเวียดนามกลับมีทิศทางการขยาย ตัวในอัตราต่ำ ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายมุ่งสู่อินโดจีนตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จากการศึกษาพบว่าการที่ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยและ เวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำนั้นเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการได้แก่ ประการแรก การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทยแต่ละสมัยขาดความต่อเนื่อง และประการที่สอง นักธุรกิจไทยประสบปัญหาในการดำเนินธุรกิจกับเวียดนาม อันเป็นผลพวงมาจากสาเหตุที่ 1 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในเวียดนามด้วย ได้แก่ การที่เวียดนามยังมีระบบการบริหารงานแบบคอมมิวนิสต์ รวมถึงกฎระเบียบการค้า-การลงทุนที่ยังคลุมเครือ ตลอดจนการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ อาทิ การสื่อสาร, การคมนาคม, กาวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการค้าและการลงทุน ระหว่างไทยกับเวียดนามระหว่างปี ค.ศ. 1988-1997 โดยในปี ค.ศ. 1988 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำริที่จะปรับความสัมพันธ์กับ 3 ประเทศอินโดจีน โดยเฉพาะเวียดนาม ด้วยการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า ซึ่งสอดคล้องกับที่เวียดนามเริ่มหันมาเปิดประเทศต้อนรับการลงทุนจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ตระหนักถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่กำลังเติบโต และพร้อมจะขยายตัวต่อไปในอนาคต จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ไทยจะเข้าไปบุกเบิกตลาดการค้า-การลงทุน อันจะเอื้อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศในฐานะหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจร่วมกัน แต่ปรากฏว่ากระทั่งถึงปี ค.ศ. 1997 ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยกับเวียดนามกลับมีทิศทางการขยาย ตัวในอัตราต่ำ ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายมุ่งสู่อินโดจีนตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จากการศึกษาพบว่าการที่ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยและ เวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำนั้นเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการได้แก่ ประการแรก การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทยแต่ละสมัยขาดความต่อเนื่อง และประการที่สอง นักธุรกิจไทยประสบปัญหาในการดำเนินธุรกิจกับเวียดนาม อันเป็นผลพวงมาจากสาเหตุที่ 1 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในเวียดนามด้วย ได้แก่ การที่เวียดนามยังมีระบบการบริหารงานแบบคอมมิวนิสต์ รวมถึงกฎระเบียบการค้า-การลงทุนที่ยังคลุมเครือ ตลอดจนการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ อาทิ การสื่อสาร, การคมนาคม, กาวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจด้านการค้าและการลงทุน ระหว่างไทยกับเวียดนามระหว่างปี ค.ศ. 1988-1997 โดยในปี ค.ศ. 1988 รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำริที่จะปรับความสัมพันธ์กับ 3 ประเทศอินโดจีน โดยเฉพาะเวียดนาม ด้วยการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า ซึ่งสอดคล้องกับที่เวียดนามเริ่มหันมาเปิดประเทศต้อนรับการลงทุนจากภายนอก ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ตระหนักถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของเวียดนามที่กำลังเติบโต และพร้อมจะขยายตัวต่อไปในอนาคต จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ไทยจะเข้าไปบุกเบิกตลาดการค้า-การลงทุน อันจะเอื้อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศในฐานะหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจร่วมกัน แต่ปรากฏว่ากระทั่งถึงปี ค.ศ. 1997 ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยกับเวียดนามกลับมีทิศทางการขยาย ตัวในอัตราต่ำ ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายมุ่งสู่อินโดจีนตามที่รัฐบาลได้กำหนดไว้ ทั้งนี้จากการศึกษาพบว่าการที่ปริมาณและมูลค่าการค้า-การลงทุนระหว่างไทยและ เวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำนั้นเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการได้แก่ ประการแรก การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลไทยแต่ละสมัยขาดความต่อเนื่อง และประการที่สอง นักธุรกิจไทยประสบปัญหาในการดำเนินธุรกิจกับเวียดนาม อันเป็นผลพวงมาจากสาเหตุที่ 1 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในเวียดนามด้วย ได้แก่ การที่เวียดนามยังมีระบบการบริหารงานแบบคอมมิวนิสต์ รวมถึงกฎระเบียบการค้า-การลงทุนที่ยังคลุมเครือ ตลอดจนการขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ อาทิ การสื่อสาร, การคมนาคม, การโทรคมนาคม และ การก่อสร้าง ก็ล้วนแต่เป็นอุปสรรคที่ทำให้การค้า-การลงทุนระหว่างไทยและเวียดนามขยายตัวในอัตราต่ำทั้งสิ้น |
en |
dc.description.abstractalternative |
This thesis attempts to make a study on Thai-Vietnamese economic relations in trade and investment from 1988 to 1997. In 1988 the Chatchai government announced its intention to normalise its relations with the three Indochinese states, especially with Vietnam by applying the policy called "The Transforming of the Battlefield into a Market Place". The policy was corresponded with Vietnam's policy to open its economy to foreign investment. The Thai government was aware of the high Vietnam's economic potential which had a tendency to grow in the near future. Thus it was a good opportunity for Thailand to develop trade and investment in Vietnam. However, it is found that between 1988 and 1997, the volume and value of trade and investment between Thailand and Vietnam were growing at a decreasing rate. This did not reflect the objective of the overall government's policy for Indochina. From this study, two major factors were found to be the cause of the decreasing growth in trade and investment. Firstly, Thai foreign policies were inconsistent deriving from changes in parties governing the country. Secondly, as a result of the first cause, Thai businessmen were confronted with problems in doing business with Vietnamese counterparts, namely Vietnam's communist management system, the uncertainty of trade and investment regulations, and the lack of basic infrastructure in Vietnam such as communications, transport, telecommunications and construction. |
en |
dc.format.extent |
1310971 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- เวียดนาม |
en |
dc.subject |
ไทย -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- เวียดนาม |
en |
dc.subject |
การลงทุนของต่างประเทศ -- เวียดนาม |
en |
dc.title |
การเมืองภายในของไทยกับการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของไทยต่อเวียดนาม ปี ค.ศ. 1988-1997 |
en |
dc.title.alternative |
Thai domestic politics and the implementation of Thai economic policy towards Vietnam (1988-1997) |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|