dc.contributor.author |
เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
วรินทร ชวศิริ |
|
dc.contributor.author |
เตือนใจ โก้สกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
น่าน |
|
dc.date.accessioned |
2009-11-19T10:45:30Z |
|
dc.date.available |
2009-11-19T10:45:30Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11701 |
|
dc.description |
โครงการย่อย 1 สาธิตการเลี้ยงไก่พันธุ์เนื้อ -- โครงการย่อย 2 สาธิตการเลี้ยงไก่พันธุ์สามสายเลือด -- โครงการย่อย 3 สารสกัดจากกระชายเหลือง -- โครงการย่อย 4 สารสกัดจากกระชายดำ -- โครงการย่อย 5 สารสกัดจากกระชายเหลืองที่มีฤทธิ์ในการต้านอาการอักเสบ -- โครงการย่อย 6 การทดลองปลูกพืชสมุนไพรในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม -- โครงการย่อย 7 การแปรรูปผลผลิตพืชสมุนไพร -- โครงการย่อย 8 การพัฒนาคุณภาพดินโดยการปลูกหญ้าแฝก -- โครงการย่อย 9 การเลี้ยงหมูป่า -- โครงการย่อย 10 การเลี้ยงเป็ดไข่ในระบบเปิด -- โครงการย่อย 11 การทดลองเพาะเลี้ยงไม้ประดับขนาดเล็ก -- โครงการย่อย 12 การเลี้ยงครั่ง -- โครงการย่อย 13 การทดลองปลูกไผ่หก -- โครงการย่อย 14 การเลี้ยงเตา (หรือเทา สาหร่ายสีเขียว สกุล Spirogyra) -- โครงการย่อย 15 การจัดตั้ง ศูนย์เรียนรู้ชีววิทยาและประยุกต์เพื่อธุรกิจ |
en |
dc.description.abstract |
น่านเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ราบน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ไม่เหมาะสำหรับเกษตรกรรม ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 40,000 บาทต่อปี เมื่อมีการพัฒนาโดยการตัดถนนเข้าไปในพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของจังหวัด ทำให้มีการบุกรุกทำลายป่าบนเทือกเขาเพื่อการปลูกข้าวโพด โครงการวิจัยนี้ ต้องการทดลองให้เห็นว่า มีเกษตรกรรมหลายอย่างที่อาจทำให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น โดยไม่ต้องมีการทำลายป่า เช่น การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงหมูป่า การเพาะเลี้ยงไม้ประดับ การปลูกพืช สมุนไพร รวมไปถึงการแปรรูปสมุนไพร จากผลการศึกษาวิจัย สามารถสรุปได้ว่า ถ้าเกษตรกรลงทุนสร้างเล้าเล็ก ๆ เลี้ยงไก่เนื้อสัก 300 ตัว และเพาะเลี้ยงบอนสีในพื้นที่เพียง 4 ตารางเมตร ก็จะมีรายได้เพิ่มเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3,000 บาทต่อเดือน ส่วนผลผลิตจากพืชสมุนไพรและการแปรรูป จะเป็นส่วนเสริมรายได้อีกเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 1,500 บาท ต่อเดือน และจากการวิเคราะห์ทางเคมี ในห้องปฏิบัติการพบสารสกัดจากกระชายเหลืองที่มีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบด้วย ดังนั้นการปลูกกระชายเหลืองอาจเป็นรายได้เสริมได้อีกในอนาคต |
en |
dc.description.abstractalternative |
Nan is a province that has very little level areas. Its geography is mostly mountainous and is unsuitable for agriculture. Its population has an annual income of less than 40,000 baht per year. Nan began its development after roads were built throughout the entire province. This also led to illegal deforestation of the hillsides and mountains to raise corn. This research was conducted to recommend alternative types of agriculture that are profitable and will not harm the environment, for example raising chickens, raising wild boars, cultivating ornamental plants, growing herbs and herbal products. The herbs and herbal products alone can raise the farmer’ s income by about 1,500 baht per month. From extensive research, we can conclude that if farmers put forward a small investment of 300 chickens and planting ‘caladium’ (a native plant) in a 4 square meter area, they will receive an increased revenue of 3,000 baht per month. Further chemical tests in a laboratory have discovered that extracts from the Zingiberaceae (Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.) has anti-inflammatory properties as well. So planting and cultivating zingiberaceae can also be an alternative sources of income in the near future. |
en |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก เงินงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2550, 2549, 2548 |
en |
dc.format.extent |
4178352 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
เกษตรกรรม -- ไทย -- น่าน |
en |
dc.subject |
การพัฒนาการเกษตร -- ไทย -- น่าน |
en |
dc.title |
การเพิ่มรายได้จากเกษตรกรรมในพื้นที่รกร้าง : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
More profits from agriculture in abandoned ares |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
yowwalak.u@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Warinthorn.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Tuenchai.K@Chula.ac.th |
|