dc.contributor.author |
เตือนใจ โก้สกุล |
|
dc.contributor.author |
จิตรา เศรษฐอุดม |
|
dc.contributor.author |
ชนินทร์ เจริญพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
มานิตย์ อรุณากูร |
|
dc.contributor.author |
ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา |
|
dc.contributor.other |
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา |
|
dc.contributor.other |
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-01-06T10:34:40Z |
|
dc.date.available |
2010-01-06T10:34:40Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11929 |
|
dc.description.abstract |
QR code เป็นรหัส 2 มิติ ตอบสนองเร็วที่สามารถใช้เสริมระบบฐานข้อมูล ให้สามารถใช้ประโยชน์ในการเรียกดูข้อมูลได้ จากการศึกษาการวางระบบในต่างประเทศพบว่าการนำระบบเชื่อมโยง QR code ต้องสร้างฐานข้อมูล กำหนดรายการที่ต้องการแสดงและใช้โปรแกรม code generator สำหรับสร้างรหัสและ glass สำหรับอ่านรหัส ตัวรหัสที่ใช้งานจะอยู่ในรูป web address ที่ต้องการ เมื่อใช้ระบบที่ดำเนินการกับการควบคุมความปลอดภัยของอาหารของญี่ปุ่นกรณีวัวบ้าเป็นแม่แบบพบว่า การศึกษาสภาวะของการควบคุมความปลอดภัยในอาหารเสริสุขภาพจำเป็นต้องปรับระบบข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่มีอยู่โดยวางแนวทางที่จะต้องดำเนินการให้รวบรายการที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย เช่นข้อมูลวัตถุดิบ ข้อมูลการวิเคราะห์และรับรองผลิตภัณฑ์ จากนั้นจึงสร้างฐานข้อมูล ดึงข้อมูลที่ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่มีอยู่แล้วและเริมด้วยข้อมูลความปลอดภัยที่ยังมีจำกัดอยู่ให้สมบูรณ์มากขึ้นและอยู่รวมกัน ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการดำเนินการเพิ่มเติมข้อมูลโดยอาศัยความร่วมมือจากผู้ประกอบการที่ต้องเห็นพ้อง โดยประสานกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา คาดว่าการปรับฐานข้อมูลในส่วนนี้เมื่อแล้วเสร็จ จะทำให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Microsoft Access ที่เหมาะสมของฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นรอเอาไว้ได้ทันที ส่วนการกำหนดการเชื่อมโยงและการประเมินเพื่อทดสอบการใช้งานจะดำเนินการในปีงบประมาณถัดไป |
en |
dc.description.abstractalternative |
OR-code is a 2 dimension quick response code that can be used to compliment to data base system to maximize the use of in term of interactive data calling. The studies of QR lining system in Japan revealed that introduction of QR-code inked to data based system required data base construction, definition of each target recorded files proposed to show during interaction and access the code through Code Generator software and decoder through Glass software program. Using of code will be interactive activation through target web based address wishing to call. When the accomplishment of food safety control and monitoring system, mad cow case had been employed as reference model, results found that data shown in study records for food safety control and monitoring system in supplemented food products case crated by Food and Drug Administration needed to be improved to have more additional records on safety concerned data for example, data on raw materials, safety study data of each products that available in same location. After improvement, new data based system should be created by using of the original records from that of Food and Drug Administration complemented with the additional one to make a complete system. Adding of information on new records by the authorization of Food and Drug Administration and the willingness of the product owner has been undergone at present. It is expected that after reestablishment of new database has been accomplished the system will be transferred and connected to originally created data base previously created by this project via the most suitable Microsoft Access. The definition of each target recorded files proposed to show during interaction and accessing the code and evaluation before public demonstration will be scheduled on next fiscal year. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก เงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2550 |
en |
dc.format.extent |
3384043 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
อาหาร -- มาตรการความปลอดภัย |
en |
dc.subject |
อาหาร -- การควบคุมคุณภาพ |
en |
dc.subject |
อาหารเสริม -- มาตรการความปลอดภัย |
en |
dc.subject |
อาหารเสริม -- การควบคุมคุณภาพ |
en |
dc.title |
โครงการวิจัยเรื่องพัฒนาระบบข้อมูลรหัส 2 มิติและการควบคุมเชิงบูรณาการในการกำกับดูแลคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร : โมเดลเริ่มต้นในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
พัฒนาระบบข้อมูลรหัส 2 มิติและการควบคุมเชิงบูรณาการในการกำกับดูแลคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร : โมเดลเริ่มต้นในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร |
en |
dc.title.alternative |
Development of two dimension code based system and its integrated control for food safety and quality assurance : initial model in supplemented food products |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Tuenchai.K@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
schitra@fda.moph.go.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Piyasak.C@Chula.ac.th |
|