โบราณสถานและโบราณวัตถุ: Recent submissions

  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    จิตรกรรมวัดมหาสมณารามเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของสงฆ์ ผู้ที่ร่างภาพคือ ขรัวอินโข่ง เขียนบริเวณผนังระหว่างช่องหน้าต่าง ซึ่งมีทั้งหมด 14 ห้อง ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    จิตรกรรมวัดมหาสมณารามเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของสงฆ์ ผู้ที่ร่างภาพคือ ขรัวอินโข่ง เขียนบริเวณผนังระหว่างช่องหน้าต่าง ซึ่งมีทั้งหมด 14 ห้อง ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    จิตรกรรมวัดมหาสมณารามเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของสงฆ์ ผู้ที่ร่างภาพคือ ขรัวอินโข่ง เขียนบริเวณผนังระหว่างช่องหน้าต่าง ซึ่งมีทั้งหมด 14 ห้อง ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    จิตรกรรมวัดมหาสมณารามเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของสงฆ์ ผู้ที่ร่างภาพคือ ขรัวอินโข่ง เขียนบริเวณผนังระหว่างช่องหน้าต่าง ซึ่งมีทั้งหมด 14 ห้อง ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    จิตรกรรมวัดมหาสมณารามเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมของสงฆ์ ผู้ที่ร่างภาพคือ ขรัวอินโข่ง เขียนบริเวณผนังระหว่างช่องหน้าต่าง ซึ่งมีทั้งหมด 14 ห้อง ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    ฐานเสมาของวัดสระบัวมีทั้งหมด 8 ฐาน โดยฐานเสมาเอกเพียงอันเดียวที่เป็นฐานในผังแปดเหลี่ยม ส่วนที่เหลืออีก 7 ฐานอยู่ในผังสี่เหลี่ยม มีทั้งหมด 4 ชั้น ชั้นล่างสุดเป็นฐานเขียงทรงสูงรองรับฐานเขียงขนาดเล็ก 2 ฐานซ้อนลดหลั่นกัน ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    ฐานเสมาของวัดสระบัวมีทั้งหมด 8 ฐาน โดยฐานเสมาเอกเพียงอันเดียวที่เป็นฐานในผังแปดเหลี่ยม ส่วนที่เหลืออีก 7 ฐานอยู่ในผังสี่เหลี่ยม มีทั้งหมด 4 ชั้น ชั้นล่างสุดเป็นฐานเขียงทรงสูงรองรับฐานเขียงขนาดเล็ก 2 ฐานซ้อนลดหลั่นกัน ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    ฐานเสมาของวัดสระบัวมีทั้งหมด 8 ฐาน โดยฐานเสมาเอกเพียงอันเดียวที่เป็นฐานในผังแปดเหลี่ยม ส่วนที่เหลืออีก 7 ฐานอยู่ในผังสี่เหลี่ยม มีทั้งหมด 4 ชั้น ชั้นล่างสุดเป็นฐานเขียงทรงสูงรองรับฐานเขียงขนาดเล็ก 2 ฐานซ้อนลดหลั่นกัน ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    อกเลา คือ ไม้สันคมตรงกลางของประตูหน้าต่าง เพื่อใช้เป็นตัวประกบระหว่างบานประตู ส่วนนมอกเลา คือตัวกั้นไม่ให้คนภายนอกงัดแงะไม้คานที่พาดปิดประตูด้านในได้สะดวก ทำเป็นไม้รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ภายในประดับลวดลาย
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    อกเลา คือ ไม้สันคมตรงกลางของประตูหน้าต่าง เพื่อใช้เป็นตัวประกบระหว่างบานประตู ส่วนเชิงอกเลา คือ หรือไม้รูปสามเหลี่ยมที่อยู่ตรงหัวและท้ายอกเลา ด้านในประดับลวดลาย
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    อกเลา คือ ไม้สันคมตรงกลางของประตูหน้าต่าง เพื่อใช้เป็นตัวประกบระหว่างบานประตู ส่วนเชิงอกเลา คือ หรือไม้รูปสามเหลี่ยมที่อยู่ตรงหัวและท้ายอกเลา ด้านในประดับลวดลาย
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    คันทวยหรือไม้ค้ำยัน หรือที่เรียกว่า นาคทันต์ในภาคเหนือ เป็นทั้งส่วนที่รับน้ำหนักของชายคา และเพื่อความสวยงาม ดังนั้นจึงมีการประดับตกแต่งด้วยลวดลายให้เกิดความสวยงาม ในภาคกลางมักทำเป็นลักษณะคล้ายพญานาค
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานหน้าต่างภายในพระอุโบสถ แกะสลักเป็นรูปเทวดาถือพระขรรค์มาประดับบนพื้นลายพันธ์พฤกษา เสมือนเป็นทวารบาลคอยปกปักษ์รักษาศาสนสถาน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูพระอุโบสถด้านทิศตะวันออก แกะสลักลายก้านขดช่อหางโต ล้อมรอบลายพุ่มข้าวบิณฑ์เทพพนม ตรงกลางเป็นอกเลาแกะสลักเป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บริเวณชั้นซ้อน หรือชั้นจำลองเรือนธาตุ ประดับด้วยซุ้มหน้านางในผังแปดเหลี่ยม ประดับด้วยแถวของลายกระหนก ตรงกลางกรอบซุ้มเป็นลายประจำยาม ส่วนที่ปลายกรอบซุ้มทำเป็นลายกระจังที่เชื่อมกันระหว่างซุ้ม ประดับด้วยเทพพนมตรงมุม
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    อกเลา คือ ไม้สันคมตรงกลางของประตูหน้าต่าง เพื่อใช้เป็นตัวประกบระหว่างบานประตู ส่วนนมอกเลา คือตัวกั้นไม่ให้คนภายนอกงัดแงะไม้คานที่พาดปิดประตูด้านในได้สะดวก ทำเป็นไม้รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ภายในประดับลวดลาย
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    อกเลา คือ ไม้สันคมตรงกลางของประตูหน้าต่าง เพื่อใช้เป็นตัวประกบระหว่างบานประตู ส่วนเชิงอกเลา คือ หรือไม้รูปสามเหลี่ยมที่อยู่ตรงหัวและท้ายอกเลา ด้านในประดับลวดลาย
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    ใบเสมาทำจากหินทรายแดง ด้านล่างสุดเป็นหน้ากระดาน ภายในประดับลายดอกกลมสลับสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ถัดขึ้นมากรอบสามเหลี่ยมมีการประดับลวดลายพันธุ์พฤกษา รวมทั้งพื้นที่ด้านบนด้วยเช่นกัน ส่วนด้านข้างก็ประดับลายพันธุ์พฤกษาในกรอบส ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานหน้าต่างภายในพระอุโบสถ แกะสลักเป็นรูปเทวดาถือพระขรรค์มาประดับบนพื้นลายพันธ์พฤกษา เสมือนเป็นทวารบาลคอยปกปักษ์รักษาศาสนสถาน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    ฐานชุกชีพระพุทธรูปภายในพระอุโบสถส่วนบนสุดเป็นกลีบบัวหงาย ด้านล่างลงมาเป็นกระจังปฏิญาณและกระจังเจิม ด้านล่างสุดเป็นฐานสิงห์ ด้านหน้าเป็นผ้าทิพย์ประดับลายกรวยเชิงที่ปลายผ้า ตรงกลางเป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์