DSpace Repository

โครงการคลองคอคอดกระ ฉบับผังเมือง

Show simple item record

dc.contributor.author ระหัตร โรจนประดิษฐ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2010-04-05T03:10:23Z
dc.date.available 2010-04-05T03:10:23Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12459
dc.description.abstract ในกระบวนการนำองค์ความรู้และเทคโนโลยี่ชั้นสูงจากต่างชาติมาพัฒนาประเทศนั้น การวางแผนโครงการทางการคมนาคมระดับชาติก็เป็นประการหนึ่ง ที่ยังคงมีทัศนคติที่จะพึ่งพาต่างชาติโดยเฉพาะการคมนาคมทางทะเลที่เป็นกรณีหนึ่งที่น่าวิเคราะห์เป็นตัวอย่าง เพราะการวางแผนพาณิชยนาวีและการสร้างท่าเรือระหว่างประเทศนั้นมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ด้วยการสร้างรายได้มหาศาลของท่าเรือเดินสมุทรสามารถก่อให้เกิดเมืองใหญ่หรือเมืองหลวงของประเทศต่างๆ มีข้อสังเกตุของนักวางแผนท่าเรือของไทยว่า กรณีการวางแผนและผังท่าเรือกรุงเทพของผู้เชี่ยวชาญวิศวกรรมชาวเยอรมันจากความช่วยเหลือของสันนิบาตชาติเมื่อปี 1945 นั้นเป็นการวางแผนจากต่างชาติที่มีประสิทธิภาพและสมบูรณ์ที่สุด อย่างไรก็ตามการวางแผนและผังท่าเรืออื่นๆหลังจากนั้น องค์กรต่างชาติอาจถ่ายเทองค์ความรู้และเทคโนโลยี่ที่บิดเบือนบางประการ ทำให้การพัฒนาพาณิชยนาวีของประเทศไทยประสบปัญหาในอนาคตเราคงจะไม่อยากให้เกิดลักษณะเช่นนี้ตลอดไป คลองคอคอกกระเป็นหัวข้อที่เป็นความสนใจของนักวิจัยของไทยในทุกสาขา ทั้งทางสาขากายภาพและสังคมศาสตร์ แม้ว่าสรุปความคิดเห็นในแต่ละองค์กรจะไม่ตรงกันทั้งการสนับสนุนหรือคัดค้านรวมทั้งกรณีเส้นทางในแต่ละแนวของการขุดคลองคอคอดกระก็เป็นที่ถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์มาเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตามยังไม่เคยมีการศึกษาในกรณีสาขาวิชาของ การวางผังเมือง Urban Planning ทั้งที่เป็นประเด็นที่มีความสำคัญมากประเด็นหนึ่ง ที่จะกำหนดศักยภาพของโครงการสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่ประกอบไปกับการใช้ที่ดินในสองฝั่งของคลองคอคอดกระ และหากจะเกิดคลองคอคอดกระขึ้นในทางปฏิบัติแล้วผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อชุมชนเมืองในบริเวณนี้ก็จะมีความรุนแรงมากวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อส่งเสริมการศึกษาองค์ความรู้ของ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมืองคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการยกกรณีศึกษาขนาดใหญ่ที่กำลังเป็นที่สนใจที่จะแสดงกระบวนการและวิสัยทัศน์ทางด้านผังเมือง เพื่อเป็นข้อมูลที่อาจเกิดประโยชน์ต่อไปในอนาคต en
dc.description.abstractalternative A famous Thai professor once, told that if Thailand would like to be a developed country by learning style of Western or even some developed countries in Asia we will not be equal to them. We need to wait and see how those countries have developed, what has happened and how they can succeed. Therefore we cab follow them, that’s mean we will always walk follow them on step. Some foreign professors have told that in the past, there are three steps of development process for developing countries “Copied, adapted and innovated”. Copying high technology, and they try to adjust and develop until they are able to produce some new technology. The example of success can be seen from many Asia countries such as Japan, Korea or China etc. Many Western knowledge and high technology, which are called “international assistantes”, bombard over our country. Some of them are for projects and constructions, some for academic purposes, However, transportation is always one of main international supporting assistance purposes. Since Thailand location is at the centre of air-sea-land transportation of Asia context. As for Air transportation, East-West routes airplane always lack of fuel around territorial airspace of Thailand. Land transportation is considered as a gateway of Asia, from sea to land transferring transportation. For maritime transportation and merchandise, by now there is less number of vessels and cargo when compare with Singapore. However, the Government’s strategy of Land Bridge and Kra canal (the legend Imagination of Canal) might change that situation in future. When we talk about port planning situation after the Second World War, by assisting of United Nation Organization, Germany engineer group were planed and designed the Bangkok port (Klong Toi Port) in 1945 to be like the modernization port. That was only one worthy advice for Thailand’s port. Afterwards, port experts have remarked that other deep sea ports such as Laem Chabang, Sattahip and Songkla port were recommenced from international experts to located in Siam Gulf which is in the rear of Global liner routes in Andaman Sea. Thai town-planners do not have any specific knowledge for port and city Planning and administration. May be we were lied. There were several times for academics and professionals attempt to combine the knowledge of Port and Town planning to investigate Kra Canal, the pathway between Andaman Sea and Siam Gulf Sea. Although it is not practical project in Thailand, however, for academic context, it may an innovation of urban planning subject by the department of urban and regional planning, faculty of architecture, Chulalongkorn University. en
dc.description.sponsorship กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 41342865 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การขนส่งทางน้ำ -- ไทย en
dc.subject คอคอดกระ en
dc.subject ผังเมือง en
dc.title โครงการคลองคอคอดกระ ฉบับผังเมือง en
dc.title.alternative Kra Canal : urban planning approach en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Rahuth.R@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record