dc.contributor.advisor |
ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์ |
|
dc.contributor.author |
ภัฐธีร์ตา วัฒนประดิษฐ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-05-31T04:10:57Z |
|
dc.date.available |
2010-05-31T04:10:57Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12679 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en |
dc.description.abstract |
จากการศึกษาพบว่าฆ้องหล่อมีพัฒนาการการสร้างมาจากฆ้องตี แต่อาศัยวิธีการหล่อในวิชาช่างแทน เพื่อประหยัดเวลาในการผลิต และมีราคาถูกกว่าฆ้องตี จึงทำให้ฆ้องหล่อเป็นที่นิยมแพร่หลาย จากการศึกษากรรมวิธีการสร้างฆ้องหล่อของบ้านช่างสำราญ นิลวิไลพันธ์ พบว่าช่างสำราญ นิลวิไลพันธ์ ใช้วิธีการหล่อแบบหล่อดินในการสร้างฆ้องหล่อ โดยใช้ส่วนผสมที่สำคัญ 5 อย่าง ได้แก่ นิกเกิล สังกะสี ทองแดง อะลูมิเนียม ดีบุก มาหลอมรวมกันโดยใช้อัตราส่วนโลหะแต่ละส่วนในปริมาณที่เหมาะสม ทำให้ลูกฆ้องที่ได้จากการหล่อมีคุณภาพที่ทนทานต่อการใช้งานไม่แตกร้าวง่าย ส่วนด้านการเทียบเสียง ช่างสำราญอาศัยทักษะความชำนาญในการกลึงทำให้ฆ้องหล่อช่างสำราญ มีคุณภาพเสียงดีกว่าฆ้องหล่อโดยทั่วไป ซึ่งแตกต่างจากช่างทำฆ้องหล่อโดยทั่วไป จะใช้วิธีการขูดไปที่ลูกฆ้องแทนการกลึงเทียบเสียง ประกอบกับความพิถีพิถันในการกลึงรูปทรงภายนอก ทำให้ฆ้องหล่อของช่างสำราญมีความสวยงาม มีคุณภาพเสียงที่ดีกว่าฆ้องหล่อโดยทั่วไป กรรมวิธีการสร้างที่ส่งผลต่อคุณภาพเสียงของฆ้องหล่อคือ 1. ส่วนผสมที่ใช้ในการหล่อเป็นลูกฆ้อง 2. ขั้นตอนและวิธีการหล่อลูกฆ้อง 3. ความหนาบางของลูกฆ้องหล่อ 4. ขนาดสัดส่วนของลูกฆ้องหล่อ 5. วิธีการผูกลูกฆ้องโดยใช้หนังวัวหรือการใช้เชือก 6. ฉัตรฆ้องมีลักษณะยาว 7. ตะกั่วถ่วงเสียง 8. น้ำหนักของลูกฆ้องหล่อ 9. ร้านฆ้อง (ช่องว่างของร้านฆ้อง) |
en |
dc.description.abstractalternative |
The study has shown that a cast Khong (Khong Lor) was developed from a hammered Khong (Khong Tee). It is technically cast to save production time and cost, so the cast Khong has become popular. From learning the process of making the cast Khong from the technician Sumran Ninwilaipan, it has been discovered that the technician uses a ground mold to cast a Khong. It is made of 5 essential ingredients: Nickel, Zinc, Copper, Aluminium and Tin, which are mixed in such appropriate ratio that the center boss of gong is durable and not brittle. In addition, the technician relies on his flair for lathing the center boss to enhance the better quality of sound than that of general cast Khongs, which is different from scraping the center boss used by general technicians to tune sound. With Sumran’s meticulous process of lathing, the shape of the Khong appears beautiful and its quality of sound is superior to that of general cast Khongs. Factors affecting the quality of sound are as follows: 1. ingredients used in casting. 2. the process of casting the center boss of Khongs. 3. thickness of the center boss. 4. size of the center boss. 5. method of suspending Khongs by string or cow-skin cords. 6. long Chat Khong. 7. tuning-sound lead. 8. weight of raised center boss. 9. framework of Khong (the gap between framework and Khongs). |
en |
dc.format.extent |
3410498 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1826 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
สำราญ นิลวิไลพันธ์ |
en |
dc.subject |
ฆ้องหล่อ |
en |
dc.subject |
เครื่องดนตรีไทย |
en |
dc.title |
กรรมวิธีการสร้างฆ้องหล่อ : กรณีศึกษาช่างสำราญ นิลวิไลพันธ์ |
en |
dc.title.alternative |
The process of making khong lor : a case study of master Samran Ninwilaipan |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
ดุริยางค์ไทย |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.1826 |
|