dc.contributor.author |
สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-06-10T10:10:40Z |
|
dc.date.available |
2010-06-10T10:10:40Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12817 |
|
dc.description.abstract |
คณะวิจัยได้ศึกษาผลของเนื้อกระดูก demineralized bone matrix (DBM) ในเซลล์โบรบลาสต์และการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์กระดูก โดยศึกษาเปรียบเทียบกับเซลล์กลุ่มควบคุมซึ่งไม่ได้รับเนื้อกระดูก DBM พบว่า DBM ที่มีปริมาณแคลเซียเหลืออยู่ 2% มีระดับ alkaline phosphatase activity สูงที่สุด ลักษณะของเซลล์กลุ่มควบคุมซึ่งไม่ได้รับเนื้อกระดูก DBM ที่แยกเลี้ยงในจานทดลองเป็นเซลล์รูปกระสวยยาวเรียว เรียงตัวชิดกัน จากการศึกษาพบว่าเซลล์กลุ่มที่ได้รับเนื้อเยื่อกระดูก DBM มีการเจริญเพิ่มจำนวนของเซลล์น้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อศึกษาถึงความสามารถในการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์กระดูก เซลล์กลุ่มที่ได้เนื้อกระดูก DBM มีลักษณะกลมแบน ในขณะที่เซลล์กลุ่มควบคุมไม่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเซลล์แตกต่างไปจากเดิม หลังจากเลี้ยงไว้ในตู้อบเพาะเลี้ยงเซลล์เป็นเวลา 7 วัน ในการทดลองย้อมเซลล์ด้วย alkaline phosphatase เซลล์กลุ่มที่ได้รับเนื้อเยื่อกระดูก DBM ติดสีม่วงแดง นอกจากนี้เมื่อทำการย้อมด้วย Von Kossa และ osteocalcin ก็ให้ผลบวก ซึ่งยืนยันว่าเซลล์ไฟโบรบลาสต์มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์กระดูก ในขณะที่เซลล์กลุ่มควบคุมไม่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงเซลล์ไฟโบรบลาสต์ที่ได้รับเยื่อกระดูก DBM สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์กระดูกได้ ผลที่ได้จากการศึกษานี้เป็นแนวทางเลือกใหม่ที่สำคัญในการศึกษาพัฒนาวิธีการนำไปใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อวิศวกรรมต่อไป |
en |
dc.description.abstractalternative |
Demineralized bone matrix (DBM) can induce ectopic bone formation that is used to enhance bone healing in a number of clinical applications. DBM can be prepared by acid extraction of allograft bone, resulting in loss of some mineralized component but retention of collagen and noncollagenous proteins. The effects of variable residual calcium levels were investigated using a cell culture-based in vitro bioassay. Human fibroblastic cells were treated with or without DBM and determined over 7 days of culture. Cell proliferation was examined by direct cell counting. Osteogenic differentiation of the fibroblastic cells was analyzed with alkaline phosphates activity and staining assays. Slightly DBM and overly DBM exhibited moderate osteoinductive potential whereas DBM 2% residual calcium provided for maximum osteoinductive potential. Phenotypic characteristics of human fibroblastic cells were spindle and stellate shapes with fine homogenous cytoplasm. The control cells (without DBM treatment) exhibited a spindle shape with little extracellular matrix whereas the DBM treated cells appeared shortened and flattened. DBM inhibited the growth of the fibroblastic cells by 50%, as determined by direct cell counting. Morphologic and histochemical studies confirmed that DBM had a strong stimulatory effect on the alkaline phosphatase activities to fibroblastic cells, a very early marker of cell differentiation into the osteogenic lineage. In addition, the DBM treated cells was positive in Von Kossa staining and osteocacin immunohistochemistry assay. Human fibroblastic cells could differentiate along an osteogenic lineage and thus provide an alternative source for tissue engineering and bone regeneration. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบปะมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2550 |
en |
dc.format.extent |
2567270 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
วัสดุทดแทนกระดูก |
en |
dc.subject |
กระดูก -- ศัลยกรรม |
en |
dc.title |
การพัฒนาวัสดุทดแทนกระดูกสำหรับการผ่าตัดกระดูก : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Development of bone-substituted bioimplant materials |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Sittisak.H@Chula.ac.th |
|