dc.contributor.author |
ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย (ภาคกลาง) |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) |
|
dc.date.accessioned |
2010-06-24T11:28:34Z |
|
dc.date.available |
2010-06-24T11:28:34Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12984 |
|
dc.description.abstract |
ผลการศึกษาพบว่าดนตรีและเพลงพื้นเมืองภาคกลางสัมพันธ์กับการประกอบอาชีพการทำนา การจัดงานประเพณีพิธีกรรมในเทศกาลสำคัญและความบันเทิงทั่วไป อีกทั้งยังมีดนตรีและเพลงที่มีลักษณะเฉพาะของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ขณะที่วิวัฒนาการของดนตรีและเพลงพื้นเมืองภาคกลางสัมพันธ์กันการเจริญเติบโตของอาชีพศิลปินพื้นเมือง ในการแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ เช่น ลำตัด เพลงฉ่อย เพลงทรงเครื่อง เพลงอีแซว การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินับตั้งแต่ทศวรรษ 2500 และรสนิยมวัฒนธรรมความบันเทิงแบบตะวันตก ทำให้ดนตรีและเพลงพื้นเมืองค่อยๆหมดไป วัฒนธรรมดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ที่เข้มแข็งบางกลุ่ม เช่น กลุ่มชาติพันธุ์มอญ แม้ยังคงสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมของกลุ่มต่อไปได้ แต่ก็ไม่เข้มแข็งพอที่จะรักษาแบบแผนวัฒนธรรมเช่นที่เคยมีมาในอดีต ดนตรีพื้นเมืองอีสานใต้จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ตามความแตกต่างทางวัฒนธรรม คือ กลุ่มวัฒนธรรมไทยโคราช และกลุ่มวัฒนธรรมไทยเขมร กลุ่มวัฒนธรรมไทยโคราช ได้แก่ วัฒนธรรมของกลุ่มคนใน จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ใกล้ภาคกลางและหัวเมืองสำคัญมาแต่เดิม จึงได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมภาคกลาง มีการละเล่น อื่นๆคล้ายภาคกลาง รวมทั้งเพลงโคราชซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยโคราช กลุ่มวัฒนธรรมเขมร ได้แก่ วัฒนธรรมของกลุ่มคนในจังหวัด สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีษะเกษ ซึ่งมีกลุ่มคนเขมรเป็นกลุ่มใหญ่ ทำให้วัฒนธรรมเขมรเป็นวัฒนธรรมกระแสหลัก โดยเฉพาะวัฒนธรรมดนตรีที่เรียกว่าวัฒนธรรมกันตรึม การพัฒนาเส้นทางคมนาคม ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ทำให้วัฒนธรรมดนตรีและการแสดงจากส่วนกลางเข้าไปมีอิทธิพลต่อดนตรีพื้นเมืองอีสานใต้มากขึ้น แต่ยังคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมการแสดงแบบดั้งเดิมอยู่มาก อย่างไรก็ตามภายหลังจากที่รัฐบาลใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 เป็นต้นมา วัฒนธรรมตะวันตกจากส่วนกลางเข้ามาแทนที่วัฒนธรรมดนตรีดั้งเดิมทำให้ศิลปินปรับปรุงองค์ประกอบการแสดงดนตรีตามอย่างวงดนตรีลูกทุ่ง เกิดเพลงโคราชรูปแบบใหม่ ที่เรียกว่า เพลงโคราชซิ่ง และวงกันตรึมในรูปแบบใหม่ การสืบทอดวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองภาคกลางและภาคอีสานใต้ในปัจจุบัน จึงเป็นวัฒนธรรมที่ได้รับการยกย่องให้เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นซึ่งได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ เพื่อการท่องเที่ยวและเนมรดกวัฒนธรรมประจำชาติ และวัฒนธรรมที่ศิลปินสามารถคิดสร้างสรรค์และปรังปรุงประยุกต์ สร้างความหลากหลายในรูปแบบของศิลปะเพื่อจูงใจผู้ชมในรูปแบบต่างๆโดยผสมผสานกับดนตรีตะวันตก เพื่อประกอบอาชีพ เช่น ลำตัด เพลงอีแซว เพลงโคราชกันตรึม |
en |
dc.description.abstractalternative |
Initially, Music and Vocal music in the middle region relates to farming, ritual ceremony for the significant festival, entertainment and also posses a unique music for each tribe and race. Whilst the middle region vocal music evolution involves the growth of local musician career in order to create new production such as Lum Tad, Phleng Choi, Phleng Songkroeng, and Phleng Ei-Saew. The national economic and social development plan since 2500 BC together with Western entertainment culture resulted in the fading out fading out of the vocal music. While the musical culture of some musical powerful group such as Mon was capable of inherited the culture pattern to the next generation, it still was not strong enough to carry all the original form of the past. Lower Northeast vocal music was categorized into two groups following by the culture differentiation. These are Korat Thai culture and Khamere culture. Korat Thai culture such as Nakornratchachasima which located in the middle region and was the former major city, received the influence of the performing method from the middle region culture like Korat song , representation of the Thai Korat culture. Khamere culture is in Burirum, Surin, Si Saked province, leads to the Khamere culture as a core. Especially the musical culture named as GunTrum culture. The transportation development since King Chulongkorn reign affected to the expansion of the musical culture and performance from the middle region to the lower northeast region, however the traditional performance culture remains. However after the implementation of the first release of the National economic and social plan, the western musical culture from the middle region replaced the traditional culture. It effected to the improvement of the musical component following folk band. As a result of this it created the new style of Korat music named as Korat Sing and GunTrum. The intergeneration musical transmission of vocal music the middle and the Lower Northeast region at the moment is the culture, which is salute as a symbol of the region, and is supported by the government for the tourism purposes and to conserve as a national heritage culture. It also the pattern that the musicians create and apply to develop more various arts in order to motivate the audiences by combining with Western culture for the reason of musical carrier path such as LumTad, Phleng Ei-Saew, Phleng Korat and GunTrum. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2549 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.format.extent |
13458661 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ดนตรีพื้นบ้าน -- ไทย(ภาคกลาง) |
en |
dc.subject |
ดนตรีพื้นบ้าน -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) |
en |
dc.subject |
เพลงพื้นเมือง -- ไทย (ภาคกลาง) |
en |
dc.subject |
เพลงพื้นเมือง -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) |
en |
dc.subject |
ไทย (ภาคกลาง) -- ความเป็นอยู่และประเพณี |
en |
dc.subject |
ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ความเป็นอยู่และประเพณี |
en |
dc.title |
ประวัติและวิวัฒนาการของดนตรีไทยภาคกลางและภาคอีสานใต้ : รายงานวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
The History and evolution of Thai music within the Middle part of Thailand and the Lower Northeast |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Patarawdee.P@Chula.ac.th |
|