DSpace Repository

Browsing Fine Arts - Research Reports by Issue Date

Browsing Fine Arts - Research Reports by Issue Date

Sort by: Order: Results:

  • คึกเดช กันตามระ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535)
    รายงานการวิจัยเรื่องนี้เป็นการศึกษาวิวัฒนาการ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของศิลปะและสังคมจากรูปลักษณ์พระพุทธปฏิมากร เพื่อเสนอรายงานผลการวิจัยโดยอาศัยรูปลักษณ์พระพุทธปฏิมากรเป็นข้อมูลหลักในการศึกษาและทำการวิเคราะห์ให้เกิด ...
  • ผุสดี หลิมสกุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536)
    ในอดีตที่ผ่านมา การแก้ไขพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ของไทย ทั้งฉบับ พ.ศ. 2474 และฉบับ พ.ศ. 2521 หรือแม้แต่การดำเนินการยกร่างฉบับ พ.ศ. 2536 ล้วนเป็นการดำเนินการแก้ไขกฎหมายเพื่อตอบสนองข้อเรียกร้องจากต่างประเทศหรือเพื่ออนุวัติการ ...
  • ขำคม พรประสิทธิ์, 2512- (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537)
  • ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์เพลงคอนแชร์โตมหาราชาเพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ บทเพลงนี้ได้นำส่วนของบทเพลงไทยพื้นบ้านจากทั้ง 4 ภาค มาผสมผสานเข้าก ...
  • ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    ซิมโฟนีแห่งสกลจักรวาล เป็นบทเพลงซิมโฟนีสำหรับวงออร์เคสตราขนาดมาตรฐานความยาวของการบรรเลงประมาณ 25 นาที ลักษณะของบทเพลงจะเป็นโปรแกรมซิมโฟนี ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากปรัชญากรีกของไพธากอรัส (Pythagoras) และโบเอเธียส (Boethius) ...
  • ขำคม พรประสิทธิ์, 2512- (2546)
    เพลงเรื่องเป็นเพลงไทยประเภทหนึ่งที่ปรากฏมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา เพลงฉิ่งเป็นเพลงเรื่องประเภทหนึ่ง ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาขณะพระฉันอาหารโดยระหว่างพระฉันเช้าและพระฉันเพล ใช้เพลงแตกต่างกันไป พระฉันเช้าเป็นเพลงฉิ่งเรื่องใหญ่ ...
  • ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    ศึกษาในเรื่องความงามและประสบการณ์สุนทรียะของวิถีชีวิตซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวอีสานที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย การศึกษาจะทำให้ศิลปินมีความเข้าใจในวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวอีสานได้ดีขึ้น อีกทั้งยังทำใ ...
  • บุษกร สำโรงทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อให้เข้าใจถึงพฤติกรรมการดูโทรทัศน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนนทรีวิทยา ตามระดับความฉลาดทางอารมณ์ด้านดี โดยใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และทฤษฎีการใช้โทรทัศน์เพื่อเข้าร่ ...
  • ขำคม พรประสิทธิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ศึกษาวัฒนธรรมการบรรเลง ระเบียบวิธีการบรรเลง ระดับเสียงที่ใช้ในการบรรเลง ลักษณะการประพันธ์บทเพลงและรวบรวมบทเพลงในวัฒนธรรมดนตรีประจำถิ่นภาคเหนือของประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีในพื้นถิ่นภาคเหนือมีความหลากหลาย ...
  • บุษกร สำโรงทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    ดนตรีที่มีชื่อเสียงของภาคเหนือได้แก่ วงสะล้อ ซอ ซึง มีการขับร้องแบบภาคเหนือเรียกว่า การขับซอ ซึ่งมีวงดนตรีประกอบ นอกจากนี้ยังมีวงกลองสะบัดชัย วงกลองปู่จา และวงปี่พาทย์พื้นเมือง ซึ่งมีการเรียกชื่อต่างกันไป เช่นวงพาดค้อง ...
  • ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    เพลงทยอยเดี่ยวเป็นเพลง “สุดยอดของเพลงเดี่ยว” เพลงหนึ่งที่พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) “เจ้าแห่งเพลงทยอย” ได้แต่งขึ้นสำหรับเดี่ยวปี่อวดฝีมือโดยเฉพาะ ต่อมาภายหลังคีตาจารย์หลายท่านได้นำมาประดิษฐ์เป็นทางเดี่ยวของเครื่องด ...
  • บุษกร สำโรงทอง; ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน; ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์; ขำคม พรประสิทธิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาด้านวัฒนธรรมดนตรีของภาคกลาง และภาคอีสานใต้ โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากศิลปินดนตรีพื้นบ้านและช่างทำเครื่องดนตรีในเขตภาคกลาง 20 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปราจีนบุรี ...
  • ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ซิมโฟนีแห่งพุทธศักราช 2489 เป็นซิมโฟนีสำหรับวงออร์เคสตราขนาดมาตราฐานที่มีความยาวการบรรเลงประมาณ 27นาที ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ขึ้นเพื่อร่วมเฉลิมฉลองการครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ...
  • ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสร้างเครื่องดนตรีในภาคอีสานใต้และภาคกลาง เพื่อทราบถึงกรรมวิธีการสร้างเครื่องดนตรีของช่างทำเครื่องดนตรีในแต่ละท้องถิ่น โดยมุ่งศึกษาเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด ได้แก่ ...
  • บุษกร สำโรงทอง; ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน; ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์; ขำคม พรประสิทธิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    งานวิจัยเรื่อง “วัฒนธรรมดนตรีไทยภาคอีสานเหนือ” มุ่งศึกษาวัฒนธรรมดนตรีอีสานในด้านประวัติและวิวัฒนาการ ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมการถ่ายทอดดนตรีวัฒนธรรมการบรรเลงและกรรมวิธีการสร้างของเครื่องดนตรีร ...
  • บุษกร สำโรงทอง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาด้านวัฒนธรรมดนตรีของภาคอีสานใต้และภาคกลาง โดยการเก็บข้อมูลจากศิลปินดนตรีพื้นบ้านในเขตอีสานใต้ 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ สระแก้ว ศรีสะเกษ อุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสีมา และในภาคกลาง ...
  • ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    ผลการศึกษาพบว่าดนตรีและเพลงพื้นเมืองภาคกลางสัมพันธ์กับการประกอบอาชีพการทำนา การจัดงานประเพณีพิธีกรรมในเทศกาลสำคัญและความบันเทิงทั่วไป อีกทั้งยังมีดนตรีและเพลงที่มีลักษณะเฉพาะของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ขณะที่วิวัฒนาการของดน ...
  • ขำคม พรประสิทธิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    การดำเนินการวิจัยเรื่องวัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทยภาคอีสานใต้และภาคกลาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมการบรรเลง รวบรวมบทเพลงประจำถิ่นภาคอีสานใต้และภาคกลางอย่างเป็นรูปธรรมดนตรีไทย ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทย ...
  • ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน (คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553)
    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงวัฒนธรรมการสร้างและคุณภาพของเครื่องดนตรีไทย ภาคเหนือประเภทเครื่องดีด (ซึงกลาง) และกลองปูเจ่ โดยมีพื้นที่ศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง และน่าน ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ...
  • บุษกร บิณฑสันต์; ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน; ภัทรวดี ภูชฏาภิรมณ์; ขำคม พรประสิทธิ์; พระประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553)
    บทนำ -- ประวัติและวิวัฒนาการดนตรีภาคตะวันตก -- พิธีกรรมและความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมการถ่ายทอดความรู้ดนตรี -- วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทย ภาคตะวันตก -- การสร้างและคุณภาพเสียงเครื่องดนตรีไทย ภาคตะวันตก -- การบริหารจั ...