DSpace Repository

ยางผสมชนิดใหม่ : ยางธรรมชาติผสมโพลิเอททิลีน ชนิดความหนาแน่นต่ำมาก : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา
dc.contributor.author วราภรณ์ ตันรัตนกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2010-06-25T12:16:51Z
dc.date.available 2010-06-25T12:16:51Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13000
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ : 1. ผลิตยางผสมชนิดใหม่ที่มียางธรรมชาติเป็นองค์ประกอบหลัก 2. ตรวจสอบและเปรียบเทียบคุณสมบัติของยางผสมชนิดใหม่กับยางผสมระหว่างยางธรรมชาติและยางเอสบีอาร์ และศึกษาความเข้ากันได้ดีของยางผสมชนิดใหม่ กระบวนการวิจัย: NRผสมกับULDPEในอัตราส่วน70/30 60/40 และ50/50 (wt/wt) ด้วยเครื่องบดสองลูกกลิ้ง วัลคาไลน์ด้วยซัลเฟอร์ภายในเครื่องอัด นำแผ่นชีทที่ได้ตัดเป็นชื้นงาน เพื่อทดสอบคุณสมบัติเชิงกลและคุณสมบัติทางกายภาพตามมาตรฐาน ASTM NRถูกผสมกับSBRภายใต้วิธีการผสมจนถึงการเตรียมเป็นชิ้นงานเพื่อทดสอบคุณสมบัติต่างๆ เช่นเดียวกับยางผสมNR/ULDPE ทำการเปรียบเทียบคุณสมบัติของยางผสมทั้งสองชนิดนี้ ผลที่ได้จากการวิจัย: ยางผสม NR/ULDPE มีคุณสมบัติเชิงกลด้านการดึงยืด ความต้านทานต่อการฉีกขาด และคุณสมบัติเชิงกลด้านดึงยืดหลังจากได้รับความร้อนและออกซิเจน ดีกว่ายางผสม NR/SBR แต่มีความต้านทานต่อการขัดถูและความต้านทานต่อการหักงอต่ำกว่า ค่าความหนืดมูนนีและค่าการกระดอนของยางผสมทั้งสองมีค่าใกล้เคียงกัน แต่ความแข็งของยางผสมชนิดใหม่นี้มีค่าสูงกว่าเล็กน้อย ยางผสม NR/ULDPE มีลักษณะแยกเฟสระดับโมเลกุล แต่ผสมเข้ากันได้ดีโดยไม่ต้องมีวัสดุอื่นช่วย พอลิเมอร์ทั้งสองจะมีลักษณะเป็นเฟสต่อเนื่องเมื่อมีอัตราส่วนเท่ากัน (50/50) สาระสำคัญของผลที่ได้: ยางผสม NR/ULDPE และมีลักษณะเป็น compatible blend และแสดงคุณสมบัติเชิงกลด้านดึงยืดใกล้เคียงกับ NR และดีกว่ายางผสม NR/SBR ยางผสมชนิดใหม่นี้สามารถใช้แทนยางผสม NR/SBR ได้ในกรณีที่คำนึงถึงคุณสมบัติดังต่อไปนี้: คุณสมบัติด้านดึงยืด ความต้านทานต่อการฉีกขาด ความต้านทานต่อการเสื่อมสภาพหลังจากได้รับความร้อนและออกซิเจน ข้อเสนอแนะ : งานวิจัยที่จะทำต่อคือการผสมด้วยเครื่องผสมระบบปิด เพื่อการเปลี่ยนแปลงมอร์โฟโลจี วัคคาไนซ์ ULDPE ด้วยเปอร์ออกไซด์รวมทั้งมีการเติมเขม่าดำ (carbon black) สิ่งเหล่านี้จะมีผลกระทบโดยตรงกับคุณสมบัติเชิงกลและทางกายภาพ อาจทำให้มีการปรับปรุงข้อด้อยที่เกิดขึ้นได้ en
dc.description.abstractalternative Objectives : To produce a new Natural Rubber Blend by blending with ultra-low-density polyethylene To investigate properties of the new Natural Rubber Blend and compare these properties with those of NR/SBR blend, and to observe compatibility of the new Natural Rubber Blend Methodology: Natural Rubber (NR) was blended with ultra-low-density polyethylene (ULDPE) by using a two-roll mill. Blend compositions included 70, 60 and 50 wt%NR. Conventional vulcanization with sulfer was done by using a compression mold producing rubber sheets. Physical and mechanical properties were tested according to ASTM. These properties were compared to those of NR/SBR blends which prepared under same method. Results : Tensile properties, tear and aging (oxidation) resistances of NR/ULDPE blend are better than those of NR/SBR blend. Abrasion and flex cracking resistances of the new blend are lower than those NR/SBR blend. Mooney viscosity and resilience of both blends fall in the same range, whereas hardness of the new blend is slightly higher than that of NR/SBR blend. Blend of NR and ULDPE is immiscible but compatible, compatibilizer is not necessary for this blend. Co-continuous phase is observed in the blend of 50/50 NR/ULDPE. NR does not significantly effect on crystallization behavior of ULDPE. Conclusion : Compatible NR/ULDPE blend is prepared. This new blend shows tensile properties, tear and aging resistances as good as NR, and better than NR/SBR blend. It is the good promising to replace NR/SBR blend with NR/ULDPE blend. Suggestions : Future work is preparing the blend in an internal mixer, which will add carbon black for reinforcement and peroxide for ULDPE curing. These may change blend morphology and mechanical properties of the new blend. en
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย en
dc.format.extent 7923530 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ยาง en
dc.subject โพลิเอทิลีน en
dc.title ยางผสมชนิดใหม่ : ยางธรรมชาติผสมโพลิเอททิลีน ชนิดความหนาแน่นต่ำมาก : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ en
dc.title.alternative ยางธรรมชาติผสมโพลิเอททิลีน ชนิดความหนาแน่นต่ำมาก en
dc.title.alternative New natural rubber blended with ULDPE en
dc.type Technical Report es
dc.email.advisor Werasak.U@chula.ac.th
dc.email.author varaporn.t@psu.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record