dc.contributor.author |
ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ |
|
dc.contributor.author |
นันทวัน หัตถมาศ |
|
dc.contributor.author |
ปาลิตา แปวไธสง |
|
dc.contributor.author |
มัลลิกา แก้วดี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-07-14T03:31:09Z |
|
dc.date.available |
2010-07-14T03:31:09Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13032 |
|
dc.description.abstract |
พัฒนาวิธีการตรวจคุณภาพและความปลอดภัยทางอาหารรูปแบบใหม่ โดยใช้โมเลกุลดีเอ็นเอเป็นสื่อเน้นวิธีลดการพึ่งพาห้องปฏิบัติการ โครงการแบ่งงานเป็น 4 ส่วน ได้แก่ การพัฒนาวิธีตรวจวิเคราะห์ การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยอุณหภูมิระนาบเดียว การพัฒนาการตรวจสอบบนพื้นฐานทางเคมีไฟฟ้า การพัฒนาโมเลกุลดีเอ็นเออ้างอิงร่วมในการทดสอบ และการวางระบบในการตรวจสอบ โครงการสามารถพัฒนาเทคนิคและชุดสำเร็จรูปสำหรับตรวจการปนของข้าวตรวจสอบพืชดัดแปลงพันธุกรรม E176 และ GTS 40-3 ตรวจการปนของ bovine species ตรวจการปนของเชื้อ Xanthomonas ใช้ยีน Xacl และการตรวจเพื่อหาการปนของดีเอ็นเอ จากวัตถุดิบถั่วลิสง โดยได้ทดสอบความเฉพาะเจาะจง ความไวของปฏิกิริยาและความสามารถในการทำซ้ำ ปฏิกิริยาอยู่บนพื้นฐานของ LAMP เพิ่มดีเอ็นเอได้ภายในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องพี่งพาเครื่อง PCR และแสดงผลได้ทั้งในรูปแบบการเรืองแสงและการตรวจสอบบนหลักการไฟฟ้าเคมี ในส่วนของการพัฒนาดทคนิคการตรวจวิเคราะห์บนหลักการไฟฟ้าเคมีได้ทดสอบภาวะที่เหมาะสม และการนำ DNA stick มาใช้งานในภาคปฏิบัติ ทั้งหมดทำให้การตรวจดีเอ็นเอง่าย รวดเร็วและสนองหลักการ point of care ท้ายสุดได้โคลนชิ้นส่วนของยีนเพื่อใช้เป็นอ้างอิงประกอบการวินิจฉัยกับชุดตรวจที่พัฒนาขึ้นและได้วางและจัดระบบการตรวจสอบรองรับ |
en |
dc.description.abstractalternative |
Novel methods not depending on laboratory facilities were developed for food safety and quality assurance based on DNA detection. Results divided into 4 parts, the development of simple and rapid method for DNA analysis, the development of the detection system based on electrochemical biosensor, the development of reference DNA for testing and the establishment of testing system using DNA analysis. Results revealed the successful development of rice cultivar KDML 105 DNA detection method, GMOs screening kit (E176 and GTS40-3), bovine species detection kit Xanthomonas axonopodis pv citri. Detection kit and allergenic molecule of peanut detection kit, all based on LAMP principle which reactions completed within 40 min. Validation of methods based on their sensitivity specificity and reproducibility were also carried out. The test kits required neither themocycler nor standard laboratory facilities hence answering point of care need. Results of the test were displayed on both via fluorescence visualization and via electrochemical measurement. For the development of detection system based on electrochemical biosensor, conditions for Hoechst 33258 administrations had been examined and detection platform of DNA stick was introduced. Al facilitating the simpleness and rapidness of the test without using laboratory facilities. Finally clones of genes involved in the test kits as well as the systems for GMOs detection were established. For animal species identification and clone of sps gene for rice DNA detection were developed. These could be used as reference DNA and working procedure for the DNA test. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน จุฬาฯ ประจำปีงบประมาณ 2551 |
en |
dc.format.extent |
4497787 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.ispartofseries |
โครงการนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยทางอาหารสู่โครงสร้างเศรษฐกิจยุคใหม่ |
|
dc.relation.ispartofseries |
นวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยทางอาหารสู่โครงสร้างเศรษฐกิจยุคใหม่ |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ |
en |
dc.subject |
ดีเอ็นเอ |
en |
dc.subject |
อาหารแปรรูป |
en |
dc.subject |
เคมีไฟฟ้า |
en |
dc.title |
โครงการวิจัยเรื่องโมเลกุลดีเอ็นเอเพื่อการพัฒนาการวิเคราะห์คุณภาพและความปลอดภัยแนวใหม่ในวัตถุดิบและอาหารแปรรูป : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
โมเลกุลดีเอ็นเอเพื่อการพัฒนาการวิเคราะห์คุณภาพและความปลอดภัยแนวใหม่ในวัตถุดิบและอาหารแปรรูป |
en |
dc.title.alternative |
DNA molecule for novel development in quality and safety analysis of raw materials and processed foods |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Piyasak.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|