dc.contributor.author |
ราตรี ธันวารชร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะศิลปศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-07-24T06:04:34Z |
|
dc.date.available |
2010-07-24T06:04:34Z |
|
dc.date.issued |
2541 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 27,1(ม.ค.-มิ.ย. 2541),59-71 |
en |
dc.identifier.issn |
0125-4820 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13081 |
|
dc.description.abstract |
การซ้อนคำในภาษาไทยเป็นวิธีการสร้างคำขึ้นใช้ในภาษาไทยวิธีหนึ่ง ที่คนไทยนิยมตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยปัจจุบัน วิธีการดังกล่าวเกิดจากการซ้อนคำหรือกลุ่มคำตั้งแต่ 2 ถึง 4 หน่วยที่มีความหมายเหมือนกัน คล้ายคลึงกัน หรือตรงข้ามกัน ผู้เขียนได้ศึกษาการซ้อนคำที่เกิดจากความหมายทั้ง 3 ประเภท ในด้านลักษณะ หน้าที่ และที่มาของคำที่นำมาซ้อนกัน นอกจากนั้นยังได้ศึกษาการพัฒนาการซ้อนคำตั้งแต่สมัยดั้งเดิม ผลการศึกษาแสดงว่าคำหรือกลุ่มคำที่นำมาซ้อนกันนั้นมีสาเหตุมาจากความหมายซึ่งเหมือนกัน คล้ายคลึงกันหรือตรงข้ามกัน โดยไม่คำนึงว่าลักษณะของคำ จำนวนพยางค์ ที่มาของคำ ระดับของคำที่นำมาซ้อนกันแตกต่างกันหรือไม่ การซ้อนคำดังกล่าวบางกรณีทำให้เกิดคำซ้อนซึ่งจะมีความหมาย 3 ประเภท คือ ความหมายเป็นความหมายเดียว ความหมายเพิ่มจากความหมายเดิมของหน่วยแต่ละหน่วย และความหมายเป็นความหมายรวม ผลการสำรวจทัศนคติของคนไทย 80 คน (อาจารย์มหาวิทยาลัย 40 คน และนิสิต 40 คน) ต่อการซ้อนคำ ปรากฎว่าร้อยละ 77.5 เห็นว่า ข้อความภาษาไทยที่มีการซ้อนคำไพเราะสละสลวยกว่าข้อความที่ไม่มีการซ้อนคำ ข้อสังเกตประการหนึ่งที่พบคือ การซ้อนคำซึ่งตั้งแต่เดิมเป็นการซ้อนคำหรือกลุ่มคำธรรมดา ได้พัฒนาเป็นการซ้อนสลับและการซ้อนซ้ำนอกจากนั้นเรามักพบลักษณะคำที่มีการซ้อนคำในข้อความที่เป็นพรรณนาโวหารและเทศนาโวหารด้วย |
en |
dc.description.abstractalternative |
Lexical reduplication is a process in producing new lexical items in Thai since the Sukhothai period to present. Two to four words or groups of words having the same, similar or opposite meaning may be placed together to produce lexical reduplication. These lexical reduplications are studied in the aspects of words formation, gramatical function and sources or origins of words in the lexical reduplications. The development of lexical reduplication is also studied from the Sukhothai period until the reign of King Rama VII in the Ratanakosin period. The result of study shows that the reduplication process is based on the meaning of words or groups of words which can be the same, similar or opposite, without any regards to the form of words, numbers of syllables, the sources or origins and the like. In certain cases, the lexical reduplication process produces couplets with three types of meaning: maintaining the meaning of one of the numbers of reduplication items; having additive meaning and having collective meaning. The result of testing 80 people (40 university lecturers and 40 undergraduate students) on the reference of reduplicating words by presenting them passages with lexical and non-lexical reduplications show that 77.5 % of the people prefer the passages with lexical reduplication. One finding is that lexical reduplications developed from simple reduplication with simply placing words together to the formation of complicated couplets and repetitive. Besides we can frequently find the lexical reduplication occuring in passages of descriptive and didactic styles. |
en |
dc.format.extent |
1269931 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ภาษาไทย -- การซ้อนคำ |
en |
dc.subject |
ภาษาไทย -- คำและวลี |
en |
dc.title |
วิธีสร้างคำในภาษาไทย : การซ้อนคำ |
en |
dc.title.alternative |
The process of producing new lexis in Thai : lexical reduplication |
en |
dc.type |
Article |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|