dc.contributor.advisor |
สมสินี พิมพ์ขาวขำ |
|
dc.contributor.advisor |
ศิริวิมล ศรีสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
นิรันดร โถทองคำ, 2520- |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2006-05-29T05:48:41Z |
|
dc.date.available |
2006-05-29T05:48:41Z |
|
dc.date.issued |
2547 |
|
dc.identifier.isbn |
9745315494 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/133 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบผลของวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดั้งเดิมและวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดัดแปลงด้วยเรซินต่อเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ของมนุษย์ในห้องปฏิบัติการเพื่อศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์เมื่อมีการสัมผัสโดยตรงระหว่างเซลล์กับวัสดุ ผลของวัสดุทั้งสองชนิดต่ออัตราการเพิ่มจำนวนเซลล์ ลักษณะของเซลล์ที่ยึดเกาะบนผิววัสดุ ปริมาณไฟโบรเนกตินและค่าการทำงานของเอ็นไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส ที่ระยะเวลา 1, 3 และ 5 วัน ผลการวิจัยพบว่าวัสดุทั้งสองชนิดภายหลังผสมเสร็จใหม่ ๆ มีความเป็นพิษต่อเซลล์สูง แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไประดับความเป็นพิษของวัสดุทั้งสองชนิดมีการลดลง การศึกษาอัตราการเพิ่มจำนวนเซลล์พบว่าเซลล์เอ็ดยึดปริทันต์สามารถเจริญบนผิววัสดุทั้งสองชนิดได้ โดยในวันที่ 3 วัสดุทั้งสองชนิดมีอัตราการเพิ่มจำนวนเซลล์ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมขณะที่ในวันที่ 5 วัสดุกลาสไอโอเนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดัดแปลงด้วยเรซินมีอัตราการเพิ่มจำนวนเซลล์มากกว่ากลุ่มควบคุม (p < 0.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดั้งเดิม เมื่อพิจารณาลักษณะของเซลล์พบว่าเซลล์ที่ยึดเกาะบนพื้นผิววัสดุทั้งสองชนิดมีลักษณะปกติ ไม่แตกต่างจากลักษณะเซลล์ที่พบในกลุ่มควบคุม การศึกษาปริมาณไฟโบรเนกตินพบว่าวัสดุกลาสไอโอเนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดัดแปลงด้วยเรซิน มีแนวโน้มกระตุ้นการสร้างไฟโบรเนกตินได้มากกว่าวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดั้งเดิม การศึกษาการทำงานของเอ็นไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างวัสดุทั้งสองชนิดในทุกช่วงเวลาศึกษา โดยสรุปพบว่าเซลล์เอ็นยึดปริทันต์สามารถเจริญและเพิ่มจำนวนบนผิววัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีนเมนต์ทั้งสองชนิดได้ตามปกติหรือมากกว่าปกติ โดยมีลักษณะของเซลล์ที่ปกติ วัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดัดแปลงด้วยเรซินทำให้เกิดการตอบสนองของเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ของในทางบวกมากกว่าวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดั้งเดิม |
en |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this study was to investigate effects of conventional glass ionomer cement (CGIC) compared with resin modified glass ionomer cement (RMGIC) on human periodontal ligament cells. The effects of the direct contact of human periodontal ligament cells on these material surfaces after 1, 3 and 5 days incubation were studied. The study focused on the growth rate, morphological appearances using scanning electron microscope (SEM), fibronection expression and alkaline phosphatase activity (ALP activity). The results showed that freshly mixed of both materials had highly cytotoxicity to human periodontal ligament cells but cytotoxicity level decreased constantly after 7 days of immersion materials in culture medium. Human PDL cells could grow on both material surfaces. On days 3, there was no statistical significant difference on growth rate amongst the control group and all experimental groups. However, on day 5, the growth rate of the RMGIC group was statistically greater than the control group (p < 0.05) but it was not statistically different from the CGIC group. Meanwhile, CGIC group had a higher growth rate than the control group but there was no statistical difference. The result from SEM study demonstrated that PDL cells could attach to surfaces of both materials with normal appearance. Western blot analysis showed that fibronectin level from cells in the RMGIC group was greater than both control and CGIC groups. Finally, the ALP activity of both RMGIC and CGIC groups were not statistically different but were statistically lower than that of the control group (p < 0.05). It was concluded that PDL cells could normally grow and proliferate on both material surfaces. Growth rate of PDL cells was not inhibited by both materials. The RMGIC had more positive effects on PDL cells than the CGIC. |
en |
dc.format.extent |
2584005 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.532 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
กลาสไอโอโนเมอร์ |
en |
dc.subject |
เอ็นยึดปริทันต์ |
en |
dc.subject |
ไฟโบรเนกติน |
en |
dc.subject |
ซีเมนต์ทางทันตกรรม |
en |
dc.title |
การศึกษาเปรียบเทียบผลของกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดั้งเดิม และกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดดัดแปลงด้วยเรซินต่อเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ของมนุษย์ |
en |
dc.title.alternative |
A comparative study of the effects of conventional glass ionomer cement and resin modified glass ionomer cement on human periodontal ligament cells |
en |
dc.type |
Thesis |
en |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
วิทยาเอ็นโดดอนต์ |
en |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Somsinee.P@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
dupn1048@asianet.co.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2004.532 |
|