DSpace Repository

ความหวัง ในกวีนิพนธ์ของ ที.เอส. เอเลียต

Show simple item record

dc.contributor.author พจี ยุวชิต
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2010-09-11T06:00:03Z
dc.date.available 2010-09-11T06:00:03Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.citation วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 29,2(ก.ค.-ธ.ค. 2543),21-34 en
dc.identifier.issn 0125-4820
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13443
dc.description.abstract ที.เอส. เอเลียต ได้ประพันธ์บทกวีส่วนใหญ่ในช่วงเวลาที่โลกประสบวิกฤตการณ์อันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นั่นคือสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ด้วยเหตุนี้ ผลงานเหล่านี้จึงถูกครอบงำด้วยบรรยากาศแห่งความหวาดกลัว เนื่องจากโลกถูกคุกคามด้วยการล่มสลายของอารยธรรม ทำให้เกิดความท้อแท้สิ้นหวังและความหดหู่เศร้าหมอง สิ่งนี้ตรงกับความรู้สึกของคนทั่วไป ผลงานของเอเลียตจึงสามารถดึงดูดความสนใจของผู้อ่านได้มาก อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนขอแย้งว่ากวีนิพนธ์ของเอเลียตมิได้เสนอโลกที่ท้อแท้สิ้นหวังเสียทีเดียว แม้ผลงานเหล่านี้จะมิได้ให้ความเชื่อมั่นว่าสามารถขจัดความหดหู่เศร้าหมองได้หมดสิ้น แต่ก็แสดงให้เห็นว่ามีทางไปถึงจุดดังกล่าวได้ แนวคิดนี้เห็นได้ตั้งแต่ในผลงานสำคัญชิ้นแรก คือ The Waste Land และเห็นได้ชัดเจนมากในบทกวีขนาดยาวชิ้นสุดท้ายคือ The Four Quartets en
dc.description.abstractalternative T.S. Eliot wrote most of his poems during the time when the world experienced two major crises : the two world wars, that brought about changes in its social, economic and political conditions. For this reason, the dominant mood of his works is that of a threat from a breakdown of human civilization, causing despair and spiritual sterility. This coincides with the public feeling, thus makes Eliot’s poetry appeal to a large number of audience. However, I want to argue here that Eliot’s works are not devoid of hope. Though they do not affirm that spiritual sterility can be totally abolished, they show that there is a possibility to alleviate and get rid of despair. This concept can be seen in his first major work. The Waste Land, and is more evident in his final long poem, The Four Quartets. en
dc.format.extent 1305034 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject เอเลียต, ที.เอส., ค.ศ. 1888-1965 en
dc.subject กวีนิพนธ์อังกฤษ -- ประวัติและวิจารณ์ en
dc.title ความหวัง ในกวีนิพนธ์ของ ที.เอส. เอเลียต en
dc.title.alternative Hope in T.S. Eliot's poetry en
dc.type Article es
dc.email.author Pachee.Y@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record