dc.contributor.author |
ฉันทนา ไชยชิต |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-12-18T07:46:49Z |
|
dc.date.available |
2010-12-18T07:46:49Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 30,2(ก.ค.-ธ.ค. 2544),79-101 |
en |
dc.identifier.issn |
0125-4820 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14178 |
|
dc.description |
แนวคิดรวบยอดจากการเสนอบทความในที่ประชุม The Emily Dickinson International Society Conference ในปี พ.ศ. 2535 2538 และ 2542 |
en |
dc.description.abstract |
บทความเรื่องนี้มีที่มาจากการที่ผู้เขียนได้มีส่วนร่วมเสนอบทความและรับฟังความคิดของนักวิชาการผู้ศึกษาผลงานของเอมิลิ ดิกคินสัน ซึ่งเป็นกวีอเมริกันสำคัญคนหนึ่งในวงการร้อยกรองอเมริกันสมัยใหม่ (Modern American poetry) ผู้เขียนได้เสนอภาพรวมของการสัมมนาเรื่อง “Translating Emily Dickinson in language, culture and the arts” (พ.ศ. 2535) และ “Emily Dickinson abroad : the paradox of seclusion” (พ.ศ. 2538) รวมทั้ง “Emily Dickinson at home : the paradox of the wandering mind” (พ.ศ. 2542) เพื่อชี้ให้เห็นว่า ดิกคินสันเป็นกวีแปลกเพราะสร้างรูปประโยคไม่เหมือนกวีอื่นใด และเสนอความคิดที่ต่างจากรูปแบบวัฒนธรรมที่ผู้คนทั่วไปยอมรับ นอกจากจะใช้ภาษาและไวยากรณ์ที่ไม่มีใครเคยใช้มาก่อน กระนั้นในความแปลกประหลาดทั้งหมดนั้น เอมิลิ ดิกคินสันก็เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ และความแปลกประหลาดเหล่านั้นก็กลายเป็นอิทธิพลทั้งต่อแนวการเขียนงานวรรณกรรมร้อยกรองในช่วงศตวรรษที่ยี่สิบ และต่อแนวการสร้างศิลปะ ทางด้านงานละคร ทัศนศิลป์ และดนตรี |
en |
dc.description.abstractalternative |
The sources of this article are from the writer’s participation in three international conferences on Emily Dickinson, one of the forerunners of modern American poetry. The overall picture formed by the conferences: “Translating Emily Dickinson in language, culture and the arts” (1992), “Emily Dickinson abroad : the paradox of seclusion” (1995) and “Emily Dickinson at home : the paradox of the wandering mind” (1999) confirms the undenial fact that this female poet was an extraordinary genius because of her construction of words the syntax of her sentences. She was idiosyncratic because of her unconventional ideas and her, employment of grammar and language. But the most important thing about this strangeness is that she has been so widely recognized and has been a great influence on artists around the world not only in literature, but also in drama and music. |
en |
dc.format.extent |
2116544 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ดิกคินสัน, เอมิลี, ค.ศ. 1830-1886 |
en |
dc.subject |
กวีอเมริกัน |
en |
dc.subject |
กวีนิพนธ์อเมริกัน |
en |
dc.title |
เอมิลิ ดิกคินสัน : ความแปลกที่โลกยอมรับ |
en |
dc.title.alternative |
Emily Dickinson : tha strange but popular poet |
en |
dc.type |
Article |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|