dc.contributor.advisor |
จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย |
|
dc.contributor.author |
สาโรจน์ จอกโคกสูง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2011-08-25T11:10:32Z |
|
dc.date.available |
2011-08-25T11:10:32Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15807 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์และบริบทของเหยื่อในสายตานักวิ่งราวทรัพย์ โดยศึกษาจากนักโทษเด็ดขาดชายที่รับสารภาพว่ากระทำผิดจริงในคดีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ในเรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร และได้คัดเลือกความเหมาะสมเพื่อสัมภาษณ์เก็บข้อมูล จำนวน 10 ราย ใช้วิธีการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยเทคนิควิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และเทคนิคการสังเกตการณ์อย่างไม่มีส่วนร่วม แต่ใช้วิธีสังเกตจากการฟังน้ำเสียง สังเกตท่าที สีหน้า แววตา ท่าทาง และปฏิกิริยาอื่นๆ โดยมีการบันทึกข้อมูลจากการสังเกตในแบบฟอร์มที่ได้กำหนดไว้ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แล้วนำเสนอในลักษณะการพรรณาความ ผลการศึกษาได้ข้อสรุปถึงภาพลักษณ์และบริบทของเหยื่ออาชญากรรมในสายตานักวิ่งราวทรัพย์ ดังนี้ 1. นักวิ่งราวทรัพย์มองลักษณะทางกายภาพของเหยื่ออาชญากรรมเพียงเฉพาะว่าเป็นเพศหญิงแล้วจึงตัดสินใจลงมือกระทำผิด 2. นักวิ่งราวทรัพย์จะตัดสินใจลงมือกระทำผิดเมื่อมีองค์ประกอบอื่นๆ ที่เหมาะสมแก่การกระทำผิด คือ ลักษณะสภาพนิเวศสถานที่ที่มีผู้คนน้อยสามารถลงมือได้อย่างรวดเร็วสะดวกแก่การหลบหนี ลักษณะทรัพย์สินประเภทกระเป๋าถือสตรี มีผู้ร่วมกระทำผิด และมีจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะในการลงมือกระทำผิด จึงจะตัดสินใจวิ่งราวทรัพย์ต่อเหยื่อรายนั้น โดยไม่คำนึงถึงช่วงเวลาว่าจะเหมาะสมแก่การลงมือกระทำผิด หากเลือกได้ส่วนใหญ่จะเลือกช่วงเวลาระหว่าง 21.00-24.00 น. 3. นักวิ่งราวทรัพย์ตัดสินใจลงมือกระทำผิดโดยไม่คำนึงถึงบทลงโทษทางกฎหมาย ไม่มีการประเมินก่อนจะลงมือว่าจะได้รับโทษมากน้อยเพียงใดข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันอาชญากรรมวิ่งราวทรัพย์ที่สำคัญ คือ ควรมีการประชาสัมพันธ์มาตรการควบคุมและปราบปรามให้แก่เพศหญิงผู้ที่อาจตกเป็นเหยื่อได้ง่ายให้ระมัดระวังตัวจากนักวิ่งราวทรัพย์ ควรให้ความสำคัญกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมบางลักษณะไม่ให้เอื้อต่อการกระทำผิด และควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างแพร่หลายถึงบทลงโทษทางกฎหมาย |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study image and context of crime victims in snatcher’s perception, that how they made decision to choose their crime victims. This is a field research that studied from documents and used qualitative methodology together with techniques of in-depth interviewing, non-participative observation and taking field note with voice, manner and expression recording for analysis, in collecting data from 10 prisoners in the Bangkok Remand Prison who confessed in snatching their crime victims’ property. Then used descriptive analysis to analyze the received data. The finding revealed that image and context of crime victims in snatchers’ perceptions are; 1. Snatchers decided from a female physical aspect. 2. Snatchers decided from other context and conditions such as no crowded area, crime victims belonging assets, for example female handbag and snatchers had co-worker and vehicles by did not concern about the period of time. However, if they could, he had chosen the time between 21:00-24:00 pm. 3. Snatchers did not care about the criminal law and the punitive consequent. Recommendations for this research are; it should have public distribution about restriction and elimination measures for women risking to be snatching victims; It should pay attention to improve some physical environments to reduce chances in snatching; finally, it should notify the penalty provision of law against snatching to society. |
en |
dc.format.extent |
1633951 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.263 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
โจรผู้ร้าย |
en |
dc.subject |
ความผิดต่อทรัพย์ |
en |
dc.subject |
เหยื่ออาชญากรรม |
en |
dc.title |
ภาพลักษณ์และบริบทของเหยื่อในสายตานักวิ่งราวทรัพย์ |
en |
dc.title.alternative |
Snatchers' perception of crime victims' image and context |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
สังคมวิทยามหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
สังคมวิทยา |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
jutharat.u@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2007.263 |
|