dc.contributor.advisor |
โสรีช์ โพธิแก้ว |
|
dc.contributor.advisor |
จิราพร เกศพิชญวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
ธัญลักษณ์ วัฒนาเฉลิมยศ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2012-03-09T16:04:41Z |
|
dc.date.available |
2012-03-09T16:04:41Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17571 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปรับตัวของผู้ที่สูญเสียการ มองเห็น โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์นิยม เก็บรวมรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ที่สูญเสียการมองเห็นจำนวน 8 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ประสบการณ์การปรับตัวของผู้ที่สูญเสียการมองเห็นในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยประเด็นหลัก 4 ประเด็น ดังนี้ 1) ความทุกข์ใจจากการสูญเสียการมองเห็น เป็นความรู้สึกจากการสูญเสียการ มองเห็นทำให้ผู้ที่สูญเสียการมองเห็นเกิดความรู้สึกยอมรับความจริงที่เกิดขึ้นไม่ได้ ความรู้สึก แปลกแยกจากคนรอบข้าง ความรู้สึกสิ้นหวังในชีวิต และความรู้สึกวิตกกังวลในการดำเนิน ชีวิต 2) การเผชิญความทุกข์ใจจากการสูญเสียการมองเห็น เป็นการพยายามจัดการกับ ความทุกข์ใจที่เกิดขึ้นโดย การระบายออกทางอารมณ์ การใช้ธรรมะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นกับ ตนเอง การมองด้านบวก และการนึกถึงคำพูดของบุคคลที่นับถือ 3) การปรับตัวกับชีวิตที่มองไม่เห็น ได้แก่ การที่ผู้ที่สูญเสียการมองเห็นปรับตัวกับชีวิต ที่มองไม่เห็นโดยการเรียนรู้การใช้ชีวิตกับการมองไม่เห็น การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และการ ได้รับการสนับสนุนทางสังคม 4) ความงอกงามและความเติบโตจากความสูญเสีย เป็นความรู้สึกของผู้ที่สูญเสีย การมองเห็นที่เกิดการเรียนรู้จากความสูญเสียที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดความงอกงามและความ เติบโต ได้แก่ การมีความมั่นใจในการดำเนินชีวิต การมีความภาคภูมิใจในตนเอง การมี เป้าหมายที่ชัดเจนในชีวิต และการรู้สึกเห็นคุณค่าในตัวเอง |
en |
dc.description.abstractalternative |
This research was a phenomenological approach aimed to study adjustment experiences of vision loss persons. Data were collected by in-depth interview of 8 vision loss persons. Adjustment experiences of 8 key informants could be arranged into 4 themes as follow: 1. Theme of psychological suffering from vision losing: The vision loss persons could not accept the vision loss life and separated from others. They were despaired and worried about the vision losing life. 2. Theme of coping: The vision loss person’s coping were emotional expressing, using dharma principle for explaining the vision losing, positive thinking and encouragement themselves with the meaning word. 3. Theme of adjustment into the vision loss life: The vision loss persons tried to live the vision loss life. They changed attitude to themselves and to the vision loss person. Social support was the key of the adjustment into the vision loss life. 4. Theme of growth from the vision losing: The vision loss persons were confident and proud of their vision loss life. They had the goal of life and felt value of life |
en |
dc.format.extent |
1552863 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.792 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ผู้สูญเสียอวัยวะ |
en |
dc.subject |
การปรับตัว (จิตวิทยา) |
en |
dc.title |
ประสบการณ์การปรับตัวของผู้ที่สูญเสียการมองเห็น |
en |
dc.title.alternative |
Adjustment experiences of vision loss persons |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาการปรึกษา |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Psoree@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
wwattanaj@ yahoo.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2009.792 |
|