DSpace Repository

อิทธิพลของลักษณะนิสัยครุ่นคิดและสิ่งที่มากระตุ้นต่อการเกิดการก้าวร้าวแทนที่

Show simple item record

dc.contributor.advisor จรุงกุล บูรพวงศ์
dc.contributor.author นริศรา ศรีทองสุข
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2012-03-30T07:21:02Z
dc.date.available 2012-03-30T07:21:02Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18897
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 en
dc.description.abstract ศึกษาอิทธิพลของลักษณะนิสัยครุ่นคิดและสิ่งที่มากระตุ้นต่อการเกิดการก้าวร้าวแทนที่ภายหลังการถูกยั่วยุ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 120 คน ที่ผ่านการคัดเลือกมาแล้วว่ามีลักษณะนิสัยครุ่นคิดสูงหรือต่ำ ผู้เข้าร่วมการทดลองได้รับการยั่วยุและถูกสุ่มเข้าสู่เงื่อนไขได้รับหรือไม่ได้รับสถานการณ์กระตุ้น จากการดูวีดิทัศน์และตอบคำถามความรู้ทั่วไป จากนั้นตอบแบบประเมินที่ใช้เป็นเครื่องมือวัดตัวแปรตามคือ ความก้าวร้าวแทนที่ 1. เมื่อถูกยั่วยุ การได้รับสถานการณ์กระตุ้นทำให้เกิดการก้าวร้าวแทนที่ มากกว่าการได้รับสถานการณ์ไม่กระตุ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. เมื่อถูกยั่วยุ ผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดสูง และได้รับสถานการณ์กระตุ้นเกิดการก้าวร้าวแทนที่มากกว่า เมื่อได้รับสถานการณ์ไม่กระตุ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3. เมื่อถูกยั่วยุ ผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดต่ำ และได้รับสถานการณ์กระตุ้นเกิดการก้าวร้าวแทนที่แตกต่างจาก เมื่อได้รับสถานการณ์ไม่กระตุ้น อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. เมื่อถูกยั่วยุและได้รับสถานการณ์กระตุ้น ผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดสูงเกิดการก้าวร้าวแทนที่ มากกว่าผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 5. เมื่อถูกยั่วยุและได้รับสถานการณ์ไม่กระตุ้น ผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดสูง เกิดการก้าวร้าวแทนที่แตกต่างจากผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดต่ำ อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 6. เมื่อถูกยั่วยุ ผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดสูงเกิดการก้าวร้าวแทนที่มากกว่าผู้ที่มีลักษณะนิสัยครุ่นคิดต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 en
dc.description.abstractalternative To study the role of trait rumination and a trigger on displaced aggression after provocation. Paticipants were 120 undergraduate students previously classified as having high or low trait rumination. After being individually provoked, each paticipant was randomly assigned to a trigger or no trigger condition - being quized by an incompetent or competent research assistant, respectively. Finally, paticipants were asked to complete measures of the dependent variable-aggression towards the assistant. A trigger manipulation check and a provocation manipulation check were also administered. The results show that 1. After being provoked, participants in a trigger condition display significantly more displaced aggression than participants in a no trigger condition (p < .001). 2. After being provoked, participants with high trait rumination in a trigger condition display significantly more displaced aggression than in a no trigger condition (p < .001). 3. After being provoked, participants with low trait rumination in a trigger condition do not display significantly more displaced aggression than in a no trigger condition. 4. After being provoked, participants with high trait rumination display significantly more displaced aggression than participants with low trait rumination in a trigger condition (p < .001). 5. After being provoked, participants with high trait rumination do not differ significantly from those with low trait rumination on displaced aggression, when in a no trigger condition. 6. After being provoked, participants with high trait rumination display significantly more displaced aggression than participants with low trait rumination (p < .0 01) en
dc.format.extent 1500631 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.234
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ความก้าวร้าว en
dc.subject การเก็บกด (จิตวิทยา) en
dc.title อิทธิพลของลักษณะนิสัยครุ่นคิดและสิ่งที่มากระตุ้นต่อการเกิดการก้าวร้าวแทนที่ en
dc.title.alternative Effects of trait rumination and a trigger on displaced aggression en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2008.234


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record