DSpace Repository

การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า ในโรงเรียนชุมชน โรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาธิปไตย โรงเรียนในโครงการอาร์ ไอ ที และโรงเรียนแบบธรรมดา

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรรณี ศิริโชติ
dc.contributor.author ปรีชา ภาวโน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2012-07-17T13:49:26Z
dc.date.available 2012-07-17T13:49:26Z
dc.date.issued 2526
dc.identifier.isbn 9745627585
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20967
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 en
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนชุมชน โรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาธิปไตยโรงเรียนในโครงการ อาร์ ไอ ที และโรงเรียนแบบธรรมดา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ ที่ดัดแปลงมาจากแบบทดสอบของ มินเนโซตา และแบบทดสอบของ วอลเลชและโคแกน ผู้วิจัยได้นำแบบทดสอบไปหาค่าอำนาจจำแนก และความเที่ยง จนเห็นว่าเป็นแบบทดสอบที่ใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้ ตัวอย่างประชากร เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2525 ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนชุมชน จำนวน 5 โรง ในโรงเรียนโครงการพัฒนาประชาธิปไตย จำนวน 5 โรง ในโรงเรียนในโครงการ อาร์ ไอ ที จำนวน 2 โรง และในโรงเรียนแบบธรรมดาจำนวน 10 โรง ซึ่งมีจำนวนนักเรียนรูปแบบละ 150 คน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์หาความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ที่ระดับนัยสำคัญ .05 นักเรียนของโรงเรียนชุมชน โรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาธิปไตย และโรงเรียนในโครงการ อาร์ ไอ ที มีความคิดเห็นสร้างสรรค์ไม่แตกต่างกัน แต่นักเรียนทั้ง 3 กลุ่มมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่านักเรียนของโรงเรียนแบบธรรมดา
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study creative thinking of Prathom Suksa five students in Community Schools, Democratic Development Project Schools, RIT Project Schools and Traditional Schools. An instrument used in this research was Creative Thinking Tests, which was modified from Minnesota Tests and Wallach & Kogan Tests. This instrument was tested for discrimination power and reliability being used. The subjects were Prathom Suksa five students of the academic year 1982, in five Community Schools, five Democratic Development Project Schools, two RIT Project Schools and ten Traditional Schools. One hundred and fifty students were selected from each group of these schools. The collected data were analyzed by mean, standard deviation and. one way analysis of variance. The result of the research revealed that the creative thinking of students in Community Schools, Democratic Development Project Schools and RIT Project Schools were no statistically significant difference, but three groups of the students had higher creative thinking than the students in Traditional Schools.
dc.format.extent 361226 bytes
dc.format.extent 368773 bytes
dc.format.extent 1053692 bytes
dc.format.extent 501403 bytes
dc.format.extent 2680931 bytes
dc.format.extent 390682 bytes
dc.format.extent 589793 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ความคิดสร้างสรรค์ en
dc.subject นักเรียนประถมศึกษา en
dc.title การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า ในโรงเรียนชุมชน โรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาธิปไตย โรงเรียนในโครงการอาร์ ไอ ที และโรงเรียนแบบธรรมดา en
dc.title.alternative A study of creative thinking of prathom suksa five students in community schools, democratic development project schools, RIT project schools and traditional schools en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline ประถมศึกษา es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record