dc.contributor.advisor |
สุพล ดุรงค์วัฒนา |
|
dc.contributor.author |
กุลพัชร หมื่นมา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
|
dc.date.accessioned |
2012-08-03T15:15:35Z |
|
dc.date.available |
2012-08-03T15:15:35Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21301 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
en |
dc.description.abstract |
งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ในตัวแบบโลจิท ตัวแบบโพรบิท และตัวแบบคอมพลีเมนทารี ล็อก-ล็อก วิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ คือ วิธีกำลังสองน้อยสุดแบบถ่วงน้ำหนัก (WLS), วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด (MLE) และวิธีไคกำลังสองต่ำสุด (MCS) โดยที่ตัวแปรตอบสนอง ทั้ง 3 วิธี เป็นตัวแปรเชิงคุณภาพมี 2 ค่า คือ 0 หรือ 1 และตัวแปรอธิบาย (X) 1 ตัวแปร การเปรียบเทียบกระทำภายใต้ข้อมูลงานทดลองของ Draper (1972), Ashford (1970), Cornfield (1962), Martin (1942), Muhammad (1990), (Strand, 1930), Montgomery (1982), Clogg (1988) และ Haberman (1978) ตัวอย่างชุดที่1-3 เป็นข้อมูลทางด้านการแพทย์ ตัวอย่างชุดที่ 4-6 เป็นข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) ตัวอย่างชุดที่ 7 เป็นข้อมูลทางดานวิศวกรรมศาสตร์ และตัวอย่างชุดที่ 8-9 เป็นข้อมูลทางด้านสังคมศาสตร์ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล คือการประมาณค่าของตัวแบบโลจิท ตัวแบบโพรบิท และตัวแบบคอมพลีเมนทารี ล็อก-ล็อก ซึ่งใช้ตัวสถิติ Deiance เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ โดยใช้โปรแกรม R ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า 1. ตัวแบบโลจิทภายใต้วิธี MLE ให้ค่า Deviance น้อยสุด เป็นตัวแบบที่เหมาะสมกับข้อมูลตัวอย่างชุดที่ 4 2. ตัวแบบโพรบิทภายใต้วิธี MLE ให้ค่า Deviance น้อยสุด เป็นตัวแบบที่เหมาะสมกับข้อมูลตัวอย่าง ชุดที่ 2 ชุดที่ 5 และ ชุดที่ 9 3. ตัวแบบคอมพลีเมนทารี ล็อก-ล็อก ภายใต้วิธี MLE ให้ค่า Deviance น้อยสุด เป็นตัวแบบที่เหมาะสมกับข้อมูลตัวอย่างชุดที่ 3 และชุดที่ 7 4. สำหรับข้อมูลชุดที่ 1 ชุดที่ 6 และชุดที่ 8 ไม่มีตัวแบบใดเหมาะสมกับข้อมูล เพราะความน่าจะเป็นในการยอมรับตัวแบบน้อยกว่าระดับนัยสำคัญ 0.05 ในส่วนการพิจารณาการเลือกตัวแบบให้มีความเหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล 9 ชุด นั้นจะเห็นว่าขนาดของความแปรปรวนขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูล และความแตกต่างของค่าพารามิเตอร์ที่ประมาณได้จะขึ้นอยู่กับขนาดของ σ เท่านั้น ดังนั้น ตัวแปรอธิบายมีอิทธิพลต่อโอกาสความน่าจะเป็นของการเกิดสิ่งที่สนใย P(y=1) ซึ่งมีผลต่อการเลือกลิงค์ฟังก์ชัน |
en |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research is to compare three methods of parameter estimation in logit model, probit model, and complementary log-log model. These methods are Weighted least squares estimation (WLS), Maximum Likelihood estimation (MLE) and Minimum Chi-Square Estimation (MCS). Response variables of all three models are binary variables with one explanatory variable (X). The comparison are investigated under nine sets of sample data appeared in draper (1972), Ashford (1970), Cornfield (1962), Martin (1942), Muhammad (1990), (Strand, 1930), Montgomery (1982), Clogg (1988) and Haberman (1978). The sample 1-3 are medical science data, sample 4-6 are biological science data, sample 7 is engineering data and sample 8-9 are social science data. The three models are compared by employing the deviance as the performance measure. All data are analyzed using R statistical package. 1. Logit model fitted by MLE method yields the smallest deviance for the sample 4. 2. Probit model fitted by MLE method yields the smallest deviance for the sample 2, 5 and 9. 3. Complementary log-log model fitted by MLE method yields the smallest deviance for the sample 3 and 7. 4. There are the unsuitable model for the sample 1, 6 and 8 because the probability of accept model less than 0.05 significance. In the past of determination of model selection for nine sample data, size of the variance is affected by size of sample and the difference parameter estimation is only affected by size of σ. So that probability of success P(y=1) is affected by explanatory variable and it results in selection of link function. |
en |
dc.format.extent |
8544442 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1246 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การประมาณค่าพารามิเตอร์ |
|
dc.subject |
การประมาณค่าพารามิเตอร์ |
|
dc.title |
การเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ของตัวแบบโลจิท ตัวแบบโพรบิทและตัวแบบคอมพลีเมนทารี ล็อก-ล็อก เมื่อตัวแปรตอบสนองมี 2 กลุ่ม |
en |
dc.title.alternative |
A comparison of parameter estimation methods for binary response of Logit, Probit, and Complementary log-log models |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
สถิติศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
สถิติ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
fcomsdu@acc.chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2008.1246 |
|