dc.contributor.author | ภาสินี เปี่ยมพงศ์สานต์ | |
dc.contributor.author | เสริมศรี หอทิมาวรกุล | |
dc.contributor.author | วรนาถ วัชราธร | |
dc.contributor.author | จันทร์เพ็ญ อิทธิพเจริญ | |
dc.contributor.author | มาลินี ชาญศิลป์ | |
dc.contributor.author | สุชาดา โกรศุภมิตร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) | |
dc.date.accessioned | 2006-08-24T12:28:58Z | |
dc.date.available | 2006-08-24T12:28:58Z | |
dc.date.issued | 2527 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2183 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตของนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคต้น ปีการศึกษา 2525 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกหัดหรือแบบประเมินผล กับกลุ่มที่เรียนโดยไม่ใช้แบบฝึกหัดหรือแบบประเมินผล โดยที่ทั้งสอลกลุ่มมีเอกสารแผนภูมิสรุปเนื้อหาประมวลคำยาก ตลอดจนวิธีการเรียนการสอนเหมือนกันทุกประการ การวิจัยนี้ได้สุ่มตัวอย่างชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่กำลังเรียนในปีการศีกษา 2525 จำนวน 231 คน จากห้องเรียน 6 ห้อง กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการสุ่มเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยควบคุมให้มีลักษณะพื้นฐาน เช่น ความสามารถทางการเรียน อาชีพบิดามารดา และเพศของนักเรียนที่ใกล้เคียงกัน การทดลองใช้เวลา 1 ภาคการศึกษาโดยมีการวัดผล 3 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลอง และหลังการทดลอง ผลวิจัยสรุปได้ว่า กลุ่มที่เรียนโดยใช้แบบฝึกหัดหรือแบบประเมินผล มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มที่เรียนโดยไม่ได้ใช้แบบฝึกหัดหรือแบบประเมินผล ไม่ว่าจะทำการวัดผลระหว่างการทดลองหรือหลังการทดลอง | en |
dc.description.abstractalternative | The puprpose of this study is to compare the scholastic achievements of an expereiments group of "Life Experience" pupils of the Chulalongkorn University Demonstration School (Pathomsuksa 3, First Term, academic year 1982) with those of the control group of pupils. The experimental group was taught, inter alia, by using exercise or evaluation tests, whereas the control group was taught without them. Both groups were exposed to the same summary charts, glossaries and teaching units. In this study the sample population were 231 pupils who were attending Pathomsuksa 3 in 6 classes in the academic year 1982. The experimental as well as the control group were both drawn from the sample population, where by the basic characteristics under control were scholastic ability, parental occupations, nearly equal number of both sexes. The experimental study lasted one school term, in which 3 educational measurements were carried out, i.e. before the experiemnt, suring the experiment and after the experiment. The researchresults is as follows: The group who learned by using, inter alia, exercise or evaluation tests, and higher scholastic achievements or test scores than the other group who did not learn by using exercise or evaluation tests, no matter when the educational measurements were carried out, i.e. during the experiement or after the experiment. | en |
dc.format.extent | 19705734 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กลุ่มเสริมสร้างประสบการณ์ชีวิต--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | en |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en |
dc.title | การเปรียบเทียบสัมฤทธิผลทางการเรียนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่ใช้และไม่ใช้แบบฝึกหัด : รายงานการวิจัย | en |
dc.title.alternative | A comparative study of scholastic achievements of two groups pf "Life experience" pupils in pratomsuksa 3 having and not having used exercises of evaluation tests | en |
dc.type | Technical Report | en |