DSpace Repository

รำหน้าพาทย์สาธุการในบริบทของสังคมไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิชชุตา วุธาทิตย์
dc.contributor.author กชกร ชิตท้วม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2012-09-10T04:55:49Z
dc.date.available 2012-09-10T04:55:49Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22065
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 en
dc.description.abstract ศึกษาความเป็นมา ความสำคัญ และองค์ประกอบของการรำหน้าพาทย์สาธุการ และศึกษาวิเคราะห์การรำหน้าพาทย์สาธุการในบริบทของสังคมไทย รวมถึงวิเคราะห์กลวิธีในการรำหน้าพาทย์สาธุการตามจังหวะหน้าทับตะโพน วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการวิเคราะห์จากวรรณกรรม ตำรา หนังสือ บทโขน-ละครที่ใช้ในการแสดง การสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์ ผลการวิจัยพบว่า การรำหน้าพาทย์สาธุการในหลักสูตรการเรียนการสอนและในการแสดง จะมีโครงสร้างท่ารำในลักษณะเดียวกัน เพียงแต่ในการแสดงนั้นจะต้องมีการปรับท่ารำให้เข้ากับการดำเนินเรื่องในละคร แต่ยังคงยึดโครงสร้างท่ารำเดิม ซึ่งหลักการรำสามารถรำได้ 2 แบบ คือ 1. วิธีการแจกแจงความถี่ของเพลงและท่ารำ 2. รำตามจังหวะหน้าทับตะโพน ซึ่งในแต่ละท่วงท่านั้นจะมีความสั้นหรือยาวของจังหวะที่ไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสั้นหรือยาวของทำนองหน้าทับตะโพน บทบาทของการรำหน้าพาทย์สาธุการนั้นมีความสำคัญในการรับใช้สังคม ในด้านศิลปวัฒนธรรมที่ปรากฏในรูปแบบการแสดง ด้านศาสนา ด้านการเมือง-การปกครอง ด้านเศรษฐกิจและด้านการศึกษา ควรแก่การอนุรักษ์ สืบทอด และเผยแพร่ ให้คงอยู่เพื่อรับใช้สังคมไทยสืบต่อไป en
dc.description.abstractalternative To study the background, the importance and the parts of “Sathukarn” sacred dance. It also aims to analyze the Sathukarn sacred dance in Thai society including the relationship between movements and Nha-Tub-Ta-Pon rhythm which appears in the Sathukarn’s song, the procedure of the study, the analysis from literature, books, Khon and drama’s dialogues, the interviews as well as the observations. The study found that Na Pat Sathukarn sacred dance courses which are offered in the curriculum and the drama’s course have the same movement’s structures, but the performances must adapt the movements to the steps of drama. All the adaptations must remain the original structures. There are 2 types of dancing, 1) the frequency distribution’s methods of songs and movements, 2) dancing in the step of Nha Tub Ta Pon’s rhythm. Each movement has not the same length of step because of the length of Ta Pon’s rhythm. The role of Nha Pat Sa-Tu-Kan sacred dance is very important as a performance in Thai art and cultural. It also plays an important role in religion, politics-administration, economic and education. Na Pat Sathukarn sacred dance deserves the great honor for conservation, inheritance and distribution in Thai society forever. en
dc.format.extent 13160009 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.680
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การรำ -- ไทย en
dc.subject เพลงหน้าพากย์สาธุการ en
dc.subject พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม -- ไทย en
dc.subject Dance -- Thailand en
dc.subject Songs, Thai en
dc.subject Rites and ceremonies -- Thailand en
dc.title รำหน้าพาทย์สาธุการในบริบทของสังคมไทย en
dc.title.alternative Dance Na Pat Sathukarn in Thai society en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นาฏยศิลป์ไทย es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Vijjuta.V@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.680


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Fine Arts - Theses [866]
    วิทยานิพนธ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์

Show simple item record