DSpace Repository

การกำจัดโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน ที่ทำจากวัสดุเหลือทั้งทางการเกษตร : รายงานผลงานวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
dc.date.accessioned 2006-08-28T11:46:43Z
dc.date.available 2006-08-28T11:46:43Z
dc.date.issued 2537
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2280
dc.description.abstract ในการวิจัยนี้ใช้ผักตบชวาและชานอ้อยเป็นสารแลกเปลี่ยนไอออน ชนิดของโลหะหนักที่ทำการศึกษา ได้แก่ ทองแดง นิกเกิลและสังกะสี การทดลองที่ใช้ เป็นแบบคอลัมน์ที่มีชั้นความสูงของเรซิน 20 เซนติเมตร น้ำเสียสังเคราะห์ซึ่งมีค่าพีเอชประมาณ 5.0 และมีความเข้มข้นของโลหะหนัก 5,10, 20, 50 มิลลิกรัม/ลิตร ไหลผ่านชั้นเรซินด้วยอัตราไหล 3 ปริมาตรเรซิน/ชั่วโมง ตัวแปรที่ศึกษาได้แก่ กระบวนการทางเคมีที่ใช้ปรับสภาพผักตบชวาและชานอ้อย และความเข้มข้นของโลหะหนักในน้ำเสีย ผลการทดลองพบว่า ความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนของผักตบชวาที่ไม่ปรับสภาพมีค่าสูงที่สุดอยู่ในช่วง 0.686-0.809 มิลลิอิควิวาเลนท์/กรัม ส่วนผักตบชวาที่ปรับสภาพแบบคาร์บอกซี่เม็ททีลซัลโฟเอทีลและครอสส์ลิงค์แซนเทตมีค่าอยู่ในช่วง 0.330-0.496 มิลลิอิควิวาเลนท์ 0.233-0.503 มิลลิอควิวาเลนท์/กรัม และ 0.279-0.595 มิลลิอิควาเลนท์/กรัม ตามลำดับ สำหรับชานอ้อยที่ไม่ได้ปรับสภาพความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออน มีค่าอยู่ในช่วง 0.065-0.086 มิลลิอิควาเวนท์/กรัม และชานอ้อยที่ปรับสภาพแบบคาร์บอกซี่เม็ททิล มีค่าอยู่ในช่วง 0.052-0.069 มิลลิอิควิวาเลนท์/กรัม ผลจากการวิจัยพบว่าการปรับสภาพโดยวิธีทางเคมีทั้ง 3 วิธี ทำให้ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนไอออนของผักตบชวาและชานอ้อยลดลง สำหรับอิทธิพลของความเข้มข้นของโลหะหนักในน้ำเสีย พบว่าความสามารถในแลกเปลี่ยนไอออนเพิ่มขึ้น เมื่อน้ำเสียมีความเข้มข้นของโลหะหนักน้อยละ สำหรับการรีเจนเนอเรชันใช้สารรีเจนเนอแรนต์แต่ละชนิด เข้มข้น 0.5 นอร์มอล ประมาณ 2-3 ปริมาตรเรซิน en
dc.description.abstractalternative Water hyacinth and bagasse were used as natural cation exchange in tgis study. The heavy metals to be studies were copper, nickel and zinc. The experiment was carried out using column technique with 20 cm. height packed bed of resin. Synthetic wastewater, pH 5.0, contained heavy metal of four different concentrations 5,10, 20, 50 mg/l was percolated through the column at 3 bed-volume/hr. The variable considered was methods of chemical treatment of Water hyacinth and bagasse and concentration of heavy metal in synthetic wastewater. The experimental results found the highest cation exchange capacity (CEC) value of 0.686-0.809 meq/g for untreated Water hyacinth. The CEC value for carboxymethyl-treated, Sulphoethyl-treated and crosslink-xanthate-treated water hyacinth were equal to 0.330-0.496 meq/g. 0.233-0.503 meq/g and 0.279-0595 meq/g, respectively. The CEC value was found to be 0.065-0.086 meq/g for untreated bagasse and 0.052-0.069 meq/g for Carboxymethyl-treated bagasse. The experimental results show that three methods of chemical treated resin cannot improve ion exchange capacity of Water hyacinth and bagass. The cation exchange capacities increased with the dilution of wastewater percolated. The regeneration of resin required 2-3 bed-volumes of 0.5 N regenerant. en
dc.description.sponsorship กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 25510943 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject น้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดโลหะหนัก en
dc.subject การแลกเปลี่ยนไอออน en
dc.subject เรซินแลกเปลี่ยนไอออน en
dc.subject ของเสียทางการเกษตร en
dc.title การกำจัดโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออน ที่ทำจากวัสดุเหลือทั้งทางการเกษตร : รายงานผลงานวิจัย en
dc.title.alternative Heavy metal removal by ion exchange resin made from agricultural wastes en
dc.type Technical Report en
dc.email.author Petchporn.C@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record