DSpace Repository

สิทธิของรัฐไร้ชายฝั่งตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 : ศึกษากรณีการขนส่งผ่านแดนระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชุมพร ปัจจุสานนท์
dc.contributor.author นวกาล สิรารุจานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2012-11-20T09:03:00Z
dc.date.available 2012-11-20T09:03:00Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9745311456
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24740
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en
dc.description.abstract จากการศึกษาพบว่าอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 ได้กำหนดสิทธิของ รัฐไร้ชายฝั่งไว้ 2 เรื่องสำคัญคือ สิทธิในการเข้าและออกสู่ทะเล และ เสรีภาพในการผ่าน แต่อนุสัญญาฯ ได้กำหนดเพียงกรอบกว้างๆ เท่านั้นไม่สามารถนำไปปฏิบัติได้ทันที จึงกำหนดให้รัฐที่เกี่ยวข้องจัดทำ ข้อตกลงในระดับภูมิภาค อนุภูมิภาค หรือระดับทวิภาคีเพื่อกำหนดรายละเอียดในการปฏิบัติตามสิทธิ ของรัฐไร้ชายฝั่ง แต่เนื่องจากประเทศไทยยังไม่ได้เป็นภาคีแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ.1982 ดังนั้นประเทศไทยจึงยังไม่มีพันธกรณีต่อสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวใน เรื่องเกี่ยวกับสิทธิของรัฐไร้ชายฝั่งตามอนุสัญญาดังกล่าว แต่ในข้อเท็จจริงพบว่าปัจจุบันประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีความ ร่วมมือกันเกี่ยวกับการขนส่งผ่านแดน โดยเห็นได้จากความตกลงต่างๆ หลายฉบับทั้งในระดับภูมิภาค อนุภูมิภาค และทวิภาคีระหว่างสองประเทศ ซึ่งเพียงพอต่อการนำไปปฏิบัติในเรื่องการขนส่งผ่านแดน ระหว่างประเทศ และในทางปฏิบัตินั้นพบว่าปัญหาต่างๆ ในอดีตเกี่ยวกับการขนส่งผ่านแดนไทย-ลาว เช่น ปัญหา การผูกขาดของผู้ประกอบการขนส่งได้รับการแก้ไขไปแล้ว แต่ปัจจุบันยังมีปัญหาเล็กน้อยในทางปฏิบัติ เช่น ความล่าช้าจากระบบการผ่านแดน ความเข้าใจในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทั้งสองฝ่ายไม่สอดรับกัน เป็นต้นซึ่งจำต้องได้รับการแก้ไขและพัฒนาต่อไป
dc.description.abstractalternative The study found that United Nation Convention on the Law of the Sea 1982 set up two main rights of land locked state: The rights of access to and exit from the sea and Freedom of Transit. This law was too general to immediately perform in current events. So it forced concerned states with this law as mentioned above must make agreements to follow the rights of land locked state together at a level of region, sup-region or bilateral. But Thailand has not yet been a party of United Nation Convention on the Law of the Sea 1982. Thus Thailand does not have obligations to perform to Lao People’s Democratic Republic according to the law as mentioned above. In fact, Thailand and Lao People’s Democratic Republic cooperate on transporting through both two countries according to agreements at a level of region, sub-region and bilateral. But in the past, it revealed that transportation through borders of Thailand and Laos has less problem of monopoly because it had been solved. Nowadays, there are a few problems in late transportation through border and officials in both countries have still misunderstood to follow the agreements. So they must improve and develop themselves by making understanding each other.
dc.format.extent 3573367 bytes
dc.format.extent 1788716 bytes
dc.format.extent 19988676 bytes
dc.format.extent 17736921 bytes
dc.format.extent 7667158 bytes
dc.format.extent 2829896 bytes
dc.format.extent 20950547 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title สิทธิของรัฐไร้ชายฝั่งตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 : ศึกษากรณีการขนส่งผ่านแดนระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว en
dc.title.alternative Rights of land-locked state in united nation convention on the law of the sea 1982 : case stady on transit transport between the kingdom of thailand and lao people's democratic repubblic en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record