dc.contributor.author |
เกรียงศักดิ์ สายธนู |
|
dc.contributor.author |
ธงชัย เฉลิมชัยกิจ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาพยาธิวิทยา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2006-09-19T08:05:04Z |
|
dc.date.available |
2006-09-19T08:05:04Z |
|
dc.date.issued |
2543 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2635 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาอิทธิพลของลัยโซซัยม์และแล็คโตเฟอร์รินโดยการเติมลงในน้ำนมโคต่อการเกิดผลบวกเท็จของชุดตรวจสอบยาปฏิชีวนะตกค้างในน้ำนมโคที่พัฒนาขึ้นใหม่ "เคเอส-9" พบว่าจะต้องมีปริมาณอย่างน้อยที่สุดเท่ากับหรือมากกว่า 2.38-4.75 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร และ 9.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ ซึ่งเป็นปริมาณที่สูงกว่าลัยโซซัยม์และแล็คโตเฟอร์รินในน้ำนมโคที่พบในธรรมชาติมาก นอกจากนี้ไม่พบว่าลัยโซซัยม์และแล็คโตเฟอร์รินมีการเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกันเมื่อทดสอบด้วยชุดตรวจสอบ "เคเอส-9" แสดงว่าชุดตรวจสอบ "เคเอส-9" มีความไวรับต่ำต่อสารทั้ง 2 ชนิดนี้ ทั้งนี้ การทำลายคุณสมบัติสารต้านจุลชีพของลัยโซซัยม์ต้องใช้ความร้อนที่สูงกว่าแล็คโตเฟอร์ริน และพบว่าการอุ่นตัวอย่างที่อุณหภูมิ 98+-2 องศาเซลเซียส จะให้ผลดีกว่าที่อุณหภูมิ 83+-1 องศาเซลเซียส ตัวอย่างน้ำนมโคในวันที่ 1 ถึงวันที่ 3 หลังคลอดสามารถทำให้เกิดผลบวกเท็จในชุดตรวจสอบ"เคเอส-9" ได้สูงถึง 100% จากนั้นจะลดลงตามลำดับคือ 72, 60, 44, 16, 12, 4 และ 0% ในวันที่ 4 ถึงวันที่ 10 หลังคลอด ตามลำดับ การอุ่นตัวอย่างน้ำนมที่อุณหภูมิ 83+-1 องศาเซลเซียส และ 98+-2 องศาเซลเซียส ก่อนการทดสอบด้วยชุดตรวจสอบ "เคเอส-9" จะสามารถลดเปอร์เซ็นต์การเกิดผลบวกเท็จได้น้อยมากในตัวอย่างน้ำนมหลังคลอดวันที่ 1 และวันที่ 2 แต่การอุ่นตัวอย่างน้ำนมจะมีประสิทธิภาพดีขึ้นในการลดการเกิดผลบวกเท็จเมื่อทำการทดสอบตัวอย่างน้ำนมโควันที่ 3 หลังคลอดเป็นต้นไป โดยเปอร์เซ็นต์การเกิดผลบวกเท็จจะลดลงตามลำดับ และเหลือ 0% ในวันที่ 7 หลังคลอดเมื่อทำการอุ่นตัวอย่างน้ำนมที่อุณหภูมิ 98+-2 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที ดังนั้นการเกิดผลบวกเท็จของชุดตรวจสอบยาปฏิชีวนะตกค้างในน้ำนมคา "เคเอส-9" หลังจากการอุ่นตัวอย่างน้ำนมโคหลังคลอดแล้วก็ดีจึงอาจเกิดจากสารต้านจุลชีพตามธรรมชาติชนิดอื่นๆ ที่ทนต่อความร้อนได้ดีกว่าลัยโซซัยม์และแล็คโคเฟอร์ริน |
en |
dc.description.abstractalternative |
The new developed antibiotic residue screening test kit in dairy milk "KS-9" had been found to be influenced by spiked lysozyme and latoferrin in dairy milk. The false positive of "KS-9" occurred when milk samples contained lysozyme equal or higher than 2.38-4.75 microgram/milligram or lactoferrin equal or higher than 9.0 milligram/milliliter which were the higher concentrations than those found in natural dairy milk. Besides, lysozyme and lactoferrin in milk sample had not shown any synergistic effect when testing with "KS-9". This revealed that "KS-9" was not susceptible to lysozyme and lactoferrin. Heating milk samples could reduce antimicrobial properties of lysozyme and lactoferrin. However, lysozyme was nore heat resistant than lactoferrin. Therefore, heating milk samples at 98+-2 celsius degree was found more effective than at 83+-1 celsius degree for destroying natural inhibitors in dairy milk. Colostrum from Day-1 to Day-3 post-calving could cause 100% false-positive on "KS-9". The percentages of false-positive were decining to 72, 60, 44, 16, 12, 4, and 0% on Day-4 to Day-10 post-partum, respectively. Heating the Day-1 and Day-2 post-partum milk samples at 83+-1 celsius or 98+-2 celsius degree could not significantly reduce the false-positive of "KS-9". However, the heating process were able to dramatically decrease the false-positive of "KS-9" when treating Day-3 post-partum samples and beyond. The Day-7 post-partum samples were not cause false-positive after heating at 98+-2 celsius degree for 5 minute before testing with "KS-9". The false-positive results of "KS-9" after heating the post-partum milk samples suggested that there were other natural inhibitors which were able to resist heating process better than lysozyme and lactoferrin. |
en |
dc.description.sponsorship |
กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
3975760 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
สารต้านจุลชีพ |
en |
dc.subject |
ไลโซซัยม์ |
en |
dc.subject |
แล็ตโตเฟอร์ริน |
en |
dc.title |
ความสำคัญของสารยับยั้งแบคทีเรียในธรรมชาติ ลัยโซซัยม์และแล็คโตเฟอร์รินต่อชุดตรวจสอบยาปฏิชีวนะ "เคเอส-9" : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
Thongchai.C@Chula.ac.th |
|