DSpace Repository

การศึกษาพยาธิกำเนิดของไวรัสพี อาร์ อาร์ เอส สายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช
dc.contributor.author สันนิภา สุรทัตถ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาพยาธิวิทยา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา
dc.date.accessioned 2006-09-19T10:03:44Z
dc.date.available 2006-09-19T10:03:44Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2646
dc.description.abstract ไวรัสพี อาร์ อาร์ เอส ที่แยกได้ในประเทศไทย ทั้ง 2 สายพันธุ์สามารถเหนี่ยวนำให้เกิดโรคได้โดยพบว่า ไวรัสพี อาร์ อาร์ เอส สายพันธุ์ US (01NP1) ก่อโรครุนแรงกว่า ไวรัสพี อาร์ อาร์ เอส สายพันธุ์ EU (02SB3) และยังพบรอยโรครุนแรงในสุกรที่ชันสูตรวันที่ 15 แต่พบแอนติเจนของไวรัส พี อาร์ อาร์ เอสในสุกรกลุ่มที่ได้รับเชื้อสายพันธุ์ยุโรปมากกว่าสายพันธุ์อเมริกา ในแทบทุกเนื้อเยื่อที่ได้รับการตรวจไวรัส พี อาร์ อาร์ เอส สายพันธุ์ EU อาจแฝงตัวในสุกรได้นานกว่าและอาจมีผลให้เกิดภาวะ persistent infection ทำให้ยากต่อการกำจัดเชื้อออกจากฝูงสุกร นอกจากนี้ยังพบการเพิ่มขึ้นของยีนที่สร้าง IL-10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จากเม็ดเลือดขาวชนิดนิวเคลียสเดียวในกระแสเลือดของสุกรที่ให้เชื้อไวรัส พี อาร์ อาร์ เอส ณ วันที่ 5 และ 12 หลังการให้เชื้อ นอกจากนี้ยังตรวจพบการเพิ่มขึ้นของยีนที่สร้าง IL-10 และ IFN-Y ของเซลล์เม็ดเลือดขาวจากน้ำล้างปอดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เริ่มจากวันที่ 9 หลังได้รับเชื้อไวรัส พี อาร์ อาร์ เอส แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์ไวรัสในการเพิ่มขึ้นของยีนที่สร้าง cytokines ที่ทดสอบ (p>0.05) จากข้อมูลวิจัยชี้ให้เห็นว่า การเพิ่มการสร้าง IL 10 ในสุกรที่ติดเชื้อไวรัส พี อาร์ อาร์ เอส อาจมีผลต่อการตอบสนองการสร้างภูมิคุ้มกันอย่างมีประสิทธิภาพ ดังที่พบในกรณีของการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนในท้องที่ en
dc.description.abstractalternative The purpose of this study is to compare the pathogenicity of the selected porcine reproductive and respiratory syndrome virus (PRPSV) isolated in Thailand between the US (01NP1) and EU (02SB3) genotypes. Both genotypes were able to induce clinical signs and lesions until 15 days post infection (DPI). The US genotypes appeared to be more virulence. However, PRRSV antigen was detected more in the EU-infected pigs. The results indicated that the EU genotype might persist in pigs longer than the US genotype. We also showed that both EU and US genotypes significantly upregulated IL-10 gene expression in PBMC of infected pigs from 5 DPI. In addition, upregulation of IL-10 and IFNY gene expression was observed in BALC starting from 9 DPI. The upregulation of cytokine gene expression in BALC was observed concurrent with an increased percentage of lymphocytes in the BALC population, suggesting a role for peripheral leukocytes in cytokine production in lungs. Our results demonstrated that PRRSV infection resulted inan upregulation of IL-10 gene expression in vivo and that both EU and US strains induced comparable levels of IL-10 gene expression in the infected pigs, despite difference in the clinical signs. Our data support the notion that induction of IL-10 production may be one of the strategies used by PRRSV to modulate the host's immune responses, and this may contribute to the unique clinical picture observed following PRRSV infection. en
dc.description.sponsorship กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 462933 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ไวรัสพีอาร์อาร์เอส en
dc.subject สุกร en
dc.title การศึกษาพยาธิกำเนิดของไวรัสพี อาร์ อาร์ เอส สายพันธุ์ที่แยกได้ในประเทศไทย : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative Pathological study of the selected PRRSV isolates in Thailand en
dc.type Technical Report en
dc.email.author roongroje.t@chula.ac.th
dc.email.author Sanipa.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record