dc.contributor.author |
ศิริวัฒน์ ทรวดทรง |
|
dc.contributor.author |
นวเพ็ญ ภูติกนิษฐ์ |
|
dc.contributor.author |
ปราจีน วีรกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ |
|
dc.date.accessioned |
2006-09-19T10:43:45Z |
|
dc.date.available |
2006-09-19T10:43:45Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2652 |
|
dc.description.abstract |
ศึกษาเปรียบเทียบอัตราการผสมติดของแม่โครีดนมที่ใช้โปรแกรมการเหนี่ยวนำการตกไข่และกำหนดเวลาการผสมเทียม โดยสุ่มแบ่งแม่โคจำนวน 79 ตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ แม่โคกลุ่มที่ 1 (Ovsynch) ได้รับการฉีดฮอร์โมน GnRH 10 ไมโครกรัมในวันแรก และฉีด PGF[subscript 2beta] 500 ไมโครกรัมในวันที่ 7 และฉีด GnRH ครั้งที่ 2 10 ไมโครกรัม ในวันที่ 9 และกำหนดเวลาผสมเทียมในวันที่ 10 (16-20 ซม. หลังจากฉีด GnRH ครั้งที่ 2) จำนวน 24 ตัว แม่โคกลุ่มที่ 2 (CIDR-B) ได้รับการสอด CIDR-B ในวันแรก และฉีดฮอร์โมนเอสตราไดออล เบนโซเอท 5 มิลลิกรมในวันที่ 2 ฉีด PGD[subscript 2beta] 500 ไมโครกรัมในวันที่ 7 ดึง CIDR-B ออกในวันที่ 8 และฉีดเอสตราไดออลเบนโซเอท 1 มิลลิกรัมในวันที่ 9 และกำหนดเวลาผสมเทียมในวันที่ 10 (54-60 ซม. หลังจากดึง CIDR-B ออก) จำนวน 27 ตัว แม่โคกลุ่มที่ 3 (ควบคุม) ได้รับการฉีดฮอร์โมน PGF[subscript 2 beta]500 ไมโครกรัม และผสมเทียมหลังจากสังเกตอาการเป็นสัดจำนวน 28 ตัว ผลการทดลองพบว่าแม่โคกลุ่มที่ 2 มีอัตราการผสมติดสูงกว่าแม่โคกลุ่มที่ 1 (22.2% vs 4.2% ; P=0.06) และอัตราการผสมติดของแม่โคกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มสูงกว่าแม่โคกลุ่มที่ 3 (22.2% vs 17.9%; P>0.05) สรุปได้ว่าโปรแกรมการเหนี่ยวนำการตกไข่และกำหนดเวลาการผสมเทียม (CIDR-B) สามารถช่วยเพิ่มอัตราการผสมติดและสมรรถภาพการสืบพันธุ์ของแม่โครีดนมได้ |
en |
dc.description.abstractalternative |
To compare the conception rates of two hormonal protocols for synchronization of ovulation and timed artificial insemination (TAI) in dairy cows, lactating dairy (N=79) were randomly assigned to one of three treatment groups. Cows in the first group (Ovsynch; N=24) received 10 microgram of GnRH(d0); 500 microgram of PDF[subscript 2beta] (d7), and 10 microgram of GnRH (d9) fallowed by timed AI on d10. Cows in the second group (CIDR-B;N=27) inserted CIDR-B (d0), and received 5 mg of estradiol benzoate (d1); 500 mcirogram of PGF[subscript2beta] (d7), and removed CIDR-B(d8), and received 1 mg of estrdiol benzoate(d9) fallowed by timed AI on d10. Cows in the third group (Control; N=28) received 500 microgram of PGF[subscript2beta] and AI after detectionn of estrus. Conception rates at TAI of cows in the second group greater than cows in the first group (22.2% vs 4.2%; P=0.06). Conception rates in the second group trended to be greater than cows in the third group (22.2% vs 17.9% ; P>0.05). In conclusion, timedartificial insemination (CIDR-B) can improve conception rates and reproductive performances for lactating cows. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนคณะสัตวแพทยศาสตร์ (ฉบับสมบูรณ์) |
en |
dc.format.extent |
1459011 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
โคนม |
en |
dc.subject |
การผสมเทียม |
en |
dc.subject |
การสืบพันธุ์ |
en |
dc.title |
การใช้โปรแกรมการเหนี่ยวนำการเป็นสัดและตกไข่แล้วกำหนดเวลาการผสมเทียมเพื่อเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนม |
en |
dc.title.alternative |
Using synchronization of estrus and ovulation and fixed time-Al protocol to improve reproductive performance in dairy cows |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
siriwat.s@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
nawapen.p@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
prachin.v@chula.ac.th |
|