dc.contributor.advisor |
วินิตา ศุกรเสพย์ |
|
dc.contributor.author |
รัตนา ศิลปโสภณกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
|
dc.date.accessioned |
2012-12-29T02:51:17Z |
|
dc.date.available |
2012-12-29T02:51:17Z |
|
dc.date.issued |
2535 |
|
dc.identifier.isbn |
9745798894 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28216 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 |
en |
dc.description.abstract |
นับตั้งแต่มีการริเริ่มใช้อาเซียนพีทีเอ แต่ก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่ต้องการให้มีการกระตุ้นการขยายตัวทางการค้าภายในภูมิภาค วิทยานิพนธ์นี้จึงมุ่งที่จะศึกษาถึงผลกระทบของการแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรที่มีต่อการส่งเสริมการค้าไทย-อาเซียน ตลอดจนวิเคราะห์ให้เห็นถึง อุปสรรคที่ขัดขวางการเจริญเติบโตทางการค้าไทย-อาเซียน ในการศึกษาถึงความร่วมมือทางการค้าไทยกับอาเซียนนี้ ได้ใช้กรอบแนวความคิดที่ตั้งอยู่บนพื้น ฐานของทฤษฎีความร่วมมือส่วนภูมิภาค รวมทั้งมีการนำเอาแนวความคิดในเรื่องความร่วมมือส่วนภูมิภาค มาประยุกต์ใช้กับความสัมพันธ์ทางการค้าไทย-อาเซียนเละนำมาใช้ในการคาดคะเนแนวโน้มในอนาคตของความสัมพันธ์ทางการค้าไทย-อาเซียนว่าจะสามารถร่วมมือกันในระดับที่แข็งแกร่งมากกว่าเดิมได้หรือไม่ ผลของการวิจัยพบว่า มาตรการการแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรไม่มีประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะกระตุ้นทำให้เกิดการขยายตัวทางการค้าไทย-อาเซียน ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการแลกเปลี่ยนแบบเป็นรายสินค้าได้ประสิทธิภาพและเป็นการสูญเสียเวลาเปล่า ส่วนวิธีการแลกเปลี่ยนแบบทุกรายสินค้าก็ต้องประสบกับปัญหาที่สำคัญ 3 ประการด้วยกัน คือ การคงไว้ซึ่งรายการสงวนสิทธิในการลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากรแก่สินค้าที่ง่ายต่อการได้รับผลกระทบ วิธีการลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากรไม่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการค้าไทย-อาเซียน อีกทั้งสินค้าที่จะได้รับสิทธิพิเศษฯต้องถูกต้องตามกฎว่าด้วยเรื่องแหล่งกำเนิด ของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า ตลอดจนการนำเอามาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากรมาใช้ สำหรับการปรับปรุงให้มาตรการอาเซียนพีทีเอเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการขยายความ ร่วมมือทางการค้าไทย-อาเซียนนั้น ไม่เพียงแต่จะต้องเพิ่มอัตราการลดหย่อนทางภาษีศุลกากรให้มากขึ้นกว่า เดิมแล้ว แต่ยังต้องให้มีการครอบคลุมชนิดของสินค้าที่สำคัญและส่งผลต่อการค้าไทยอาเซียนไว้ในรายการ อาเซียนพีทีเอด้วย ขั้นแรกนั้นควรที่จะจัดให้มีการประชุมสุดยอดผู้นำของบรรดาประเทศสมาชิกให้เร็วที่สุด เท่าที่จะทำได้ เพื่อที่จะคิดหาแนวทางใหม่ๆ สำหรับความร่วมมือทางการค้าของอาเซียน |
|
dc.description.abstractalternative |
Since ASEAN PTA inception, the arrangement has fallen behind its stated economic goals that could stimulate trade within the region. This paper seeks to evaluate the effects of the exchange of tariff preference in term of increasing Thailand-ASEAN trade and analyze the obstructions that constrain the growth of Thailand-ASEAN trade. In discussing Thailand-ASEAN trade cooperation, a conceptual framework based on the regional cooperation is used in this study. The concept of regional cooperation is applied to Thailand-ASEAN trade relations and to predict in depth the future trend of greater Thailand- ASEAN trade. At the end, this research has made clear the following points. At the present time, the ASEAN PTA is not being used as effectively as it should to stimulate greater Thailand-ASEAN trade. The reasons for this disappointing level of achievement are as follows; the Product-by- Product approach has been found to be inefficient and time-consuming, the Across-the-Board approach has also met with main problems -the provisions for an exclusion list of sensitive items, the ineffectiveness of the tariff cuts in actually promoting Thailand-ASEAN trade, the interpretation of the rule of the origin and the determination of domestic content requirement- and the existence of non-tariff barriers. For the ASEAN PTA to be an effective instrument of Thailand-ASEAN trade expansion, not only the magnitude of the tariff cut must be enlarged but also the coverage of the type of products has to include more substantive items. The first step towards this process should be another summit of heads of state as soon as possible to decide on a new programme of ASEAN trade cooperation. |
|
dc.format.extent |
5103291 bytes |
|
dc.format.extent |
8109624 bytes |
|
dc.format.extent |
4273769 bytes |
|
dc.format.extent |
21728869 bytes |
|
dc.format.extent |
14936160 bytes |
|
dc.format.extent |
9523519 bytes |
|
dc.format.extent |
3132393 bytes |
|
dc.format.extent |
3523739 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.title |
ความสัมพันธ์ทางการค้าไทย-อาเซียนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการให้สิทธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน |
en |
dc.title.alternative |
Thailand-ASEAN Trade Relations Under the Agreement on ASEAN Preferential Trading Arrangement |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |