DSpace Repository

อิทธิพลของการรับรู้ผลการสำรวจประชามติที่มีต่อการเปลี่ยนทัศนคติ ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในการใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเขตกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว
dc.contributor.author พิธา ถาวรกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2013-05-19T04:56:19Z
dc.date.available 2013-05-19T04:56:19Z
dc.date.issued 2537
dc.identifier.isbn 9745844896
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31076
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 en
dc.description.abstract การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่า ลักษณะทางประชากรอันได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ มีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ผลการสำรวจประชามติที่มีลักษณะเป็นการพยากรณ์ หรือการทำนายผลการเลือกตั้งในประเด็นต่างๆ หรือไม่ อย่างไร และเพื่อศึกษาว่า การที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้รับรู้ผลการสำรวจประชามติที่มีลักษณะเป็นการพยากรณ์หรือการทำนายผลการเลือกตั้งในประเด็นต่างๆ นั้น จะทำให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเปลี่ยนทัศนคติของตนเอง ในการใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่ การวิจัยเรื่องนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจโดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จากผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 500 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จากการศึกษาวิจัยพบว่า ลักษณะทางประชากรอันได้แก่ เพศ และอายุ ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ผลการสำรวจประชามติ ลักษณะทางประชากรอันได้ไก่ ระดับการศึกษา และอาชีพ มีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ผลการสำรวจประชามติ โดยผู้ที่มีการศึกษาระดับสูง จะมีระดับการรับรู้ ผลการสำรวจประชามติสูงกว่าผู้ที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่า และผู้มีอาชีพต่างๆ มีระดับการรับรู้ผลการสำรวจประชามติแตกต่างกันไปตามกลุ่มอาชีพ โดยผู้มีอาชีพรับราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ เป็นกลุ่มอาชีพที่มีความถี่ในการรับรู้ผลการสำรวจประชามติและมีความสนใจที่จะรับรู้ผลการสำรวจประชามติสูงที่สุด ผู้มีอาชีพค้าขายเป็นกลุ่มอาชีพที่มีความเชื่อถือผลการสำรวจประชามติสูงที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่าการรับรู้ผลการสำรวจประชามติที่มีลักษณะเป็นการพยากรณ์หรือการทำนายผลการเลือกตั้งในประเด็นต่างๆ ไม่ได้มีอิทธิพลทำให้ผู้รับรู้ผลการสำรวจประชามติดังกล่าว เปลี่ยนทัศนคติของตนในการใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่อย่างใด
dc.description.abstractalternative This research is intended to study the relationships of demographic, such as sex, age, education and occupation to the perception of opinion poll. It intends to investigate whether the voters' perception on opinion poll will affect the attitudinal change of the voters in voting or not. Survey method was applied in the study. The data were collected from the 500 samples, in 1994, by multi-step sampling method. The population in this research are the Bangkok voters. Results of this research revealed that age and sex have no significant relationship with the perception of the opinion poll. However education and occupation have significant relationship of the opinion poll. The well-educated persons perceived of opinion poll higher degree than the lower-educated persons. Different groups of occupation perceived the opinion poll differently. The public employees or state enterprise groups showed highly degree in the perception of the opinion poll. The merchant groups had highest degree of trustly to the opinion poll. Generally, it also found that the perception of the opinion poll have no significant influence to change the attitude in voting.
dc.format.extent 2984769 bytes
dc.format.extent 3549936 bytes
dc.format.extent 11749995 bytes
dc.format.extent 3399981 bytes
dc.format.extent 20952586 bytes
dc.format.extent 9453301 bytes
dc.format.extent 3691947 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.title อิทธิพลของการรับรู้ผลการสำรวจประชามติที่มีต่อการเปลี่ยนทัศนคติ ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในการใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเขตกรุงเทพมหานคร en
dc.title.alternative The influence of opinion poll on voting attitudinal change of the general election voters : a case study of Bangkok voters en
dc.type Thesis es
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline การปกครอง es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record