dc.contributor.author |
บงกช หงษ์คำมี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.coverage.spatial |
ลาว |
|
dc.date.accessioned |
2013-05-23T02:27:50Z |
|
dc.date.available |
2013-05-23T02:27:50Z |
|
dc.date.issued |
2542 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31204 |
|
dc.description.abstract |
ความร่วมมือในอุสาหกรรมท่องเที่ยวไทย-ลาว อยู่ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน กรอบความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง และความร่วมมือนด้านการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยกับสปป.ลาว ความร่วมมือในด้านการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยกับ สปป.ลาวจะมี 3 รูปแบบ คือ 1. ความร่วมมือในระดับรัฐบาลกับรัฐบาล ซึ่งมีการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และองค์การท่องเที่ยวแห่งชาติ สปป.ลาวเป็นกลไกหลักในความร่วมมือในระดับประเทศ ในระดับท้องถิ่นจะมีความมือในด้านการท่องเที่ยวในระดับจังหวัดและแขวง มีผู้ว่าราชการจังหวัด และเจ้าแขวงเป็นประธาน โดยมีคณะกรรมการรักษาความสงบเรียบร้อยตามแนวชายแดน และการประชุมปรึกษาหารืออย่างไม่เป็นทางการของผู้ว่าราชการจังหวัดเจ้าแขวง และคณะทำงานเฉพาะกิจด้านต่าง ๆ เป็นกลไกในการทำงาน 2. ความร่วมมือระหว่างเอกชนไทยกับรัฐบาล สปป.ลาวที่มี 2 ลักษณะ คือ 2.1 การที่เอกชนไทยเข้าไปลงทุนในกิจการด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในสปป.ลาว 2.2 เอกชนไทย (นักธุรกิจชายแดนหรือประธานชมรมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัดชายแดน) ร่วมมือกับบริษัทท่องเที่ยวที่เป็นของรัฐบาลลาว และบริษัทท่องเที่ยวที่เป็นของรัฐบาลเวียดนาม ร่วมมือกันสำรวจเส้นทางท่องเที่ยว ในไทย ลาว และเวียดนาม ในอนาคตจะมีการ่วมมือกันในการทำธุรกิจท่องเที่ยว 3 ประเทศร่วม 3. ความร่วมือระหว่างเอกชนไทยและเอกชน สปป.ลาว ในรูปแบบร่วมมือกันทำธุรกิจท่องเที่ยวโดยบริษัทท่องเที่ยวไทยและบริษัทท่องเที่ยว สปป.ลาว ลงนามเป็นคู่สัญญาที่จะส่งนักท่องเที่ยวให้แก่ก้น ความร่วมมือในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไทย-ลาว ทั้งในระดับรัฐบาลและในระดับท้องถิ่นการดำเนินงานร่วมกันเป็นไปค่อนข้างดี ส่งผลดีต่อการท่องเที่ยวทำให้เกิดความสะดวกและประหยัดในการเดินทางท่องเที่ยวในสปป.ลาวเพิ่มขึ้น สปป.ลาวปรับตัวได้ค่อนข้างเร็วในด้านการท่องเที่ยวในช่วงปี 2541 ได้ปรับเปลี่ยนกฏระเบียบการเข้าเมือง ให้นักท่องเที่ยว่างชาติเดินทางเข้าสปป.ลาว ได้โดยอิสระไม่ต้องมีการค้ำประกันเป็นต้น สิ่งเหล่านี้ได้เอื้ออำนวย่อความร่วมมือในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย-ลาวค่อนข้างมาก ไทยกับสปป.ลาวมีแผนความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวประจำปีตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา และมีผลงานสามารถบรลุตามแผนที่วางไว้ได้ ประเทศไทยมีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือสปป.ลาว ในการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ของสปป.ลาว มาโดยตลอด มีผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรขององค์การท่องเที่ยวแห่งชาติ สปป.ลาวและการท่องเที่ยวแห่งปะเทศไทยมีความผูกพันที่ดีต่อกัน มีความเข้าอกเข้าใจกัน สามารถเข้าใจสภาพแวดล้อมและข้อจำกัดของแต่ละประเทศได้ดี นับว่าความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวไทย-สปป.ลาว จะเป็นความร่วมมือที่ดีที่สุดที่จะเป็นหัวหอกนำไปสู่ความร่วมมือที่ดีระหว่างไทยกับสปป.ลาว ในด้านอื่น ๆ ต่อไป |
|
dc.description.abstractalternative |
Thai-Lao tourism industry cooperation exists within the greater framework of ASEAN tourism cooperation, tourism cooperation within greater Mekong sub-region and tourism cooperation between Thailand and the LPDR. There find three types of tourism cooperation between Thailand and the LPDR: 1. Government to government cooperation through mechanism of Tourism Organization of Thailand and the National Tourism Organization of the LPDR. At the local levels of province and district, cooperation on tourism also functions. Cooperation at these levels is facilitated by informal consultations between provincial chiefs, and a number of task forces in existence. 2. Cooperation between Thai private sector and the.Laotian government are of two kinds; 2.1 Thai private sector invests in tourism industry in Laos 2.2 Thai private sectors (Thai businessmen or chairman of the tourist association of Thai provinces along the border) work with tourist company belonging to Laotian government and tourist company belonging to Vietnamese government. They explore tourist routes linking the three countries and in the future will engage in tourism business. 3. Cooperation between Thai and Laotian private sectors in tourism business in which tourist companies of both sides agree to supply tourists to each other. Tourism industry cooperation between Thailand and the LPDR functions smoothly facilitating and economizing tourist costs for Thai tourists in the LPDR. The LPDR rapidly improves her tourism in the year 1998 ; immigration procedures are revised allowing foreigners to enter the country without financial quarantee. This greatly promotes Thai-Lao cooperation in tourism industry which was created since 1992. Thailand has been able to help tourism development planning in the LPDR all along. Personnel in tourist organizations of both countries maintains good relations, understanding each other and are aware of limitation. This good tourism cooperation may serve as a model for other kinds ofcooperation between the two countries. |
|
dc.description.sponsorship |
ทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน |
en |
dc.format.extent |
12898343 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย |
en |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ลาว |
en |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- นโยบายของรัฐ -- ไทย |
en |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- นโยบายของรัฐ -- ลาว |
en |
dc.subject |
ความร่วมมือระหว่างรัฐ -- ไทย |
en |
dc.subject |
ความร่วมมือระหว่างรัฐ -- ลาว |
en |
dc.subject |
ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ลาว |
en |
dc.subject |
ลาว -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทย |
en |
dc.title |
ความร่วมมือในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยและ สปป.ลาว : รายงานวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Thai-Lao cooperation in tourist industry |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|