dc.contributor.author |
วัฒนะ มธุราสัย |
|
dc.contributor.author |
สมรตรี วิถีพร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.coverage.spatial |
ชลบุรี |
|
dc.date.accessioned |
2013-05-23T07:54:20Z |
|
dc.date.available |
2013-05-23T07:54:20Z |
|
dc.date.issued |
2529 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31234 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาอัตราความชุกของการสบพันผิดปกติ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศของอัตราดังกล่าว และประเมินความต้องการทางทันตกรรมจัดฟันในเด็กไทยกลุ่มหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างจำนวน 873 คน ชาย 458 คน หญิง 415 คน ได้จากการสุ่มจากเด็กนักเรียนในอำเภอต่าง ๆ ของจังหวัดชลบุรีจำนวน 4 อำเภอ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีอายุ 12-14 ปี พัฒนาการอยู่ในระยะฟันแท้ และไม่เคยได้รับการบำบัดรักษาทางทันตกรรมจัดฟันมาก่อน ลักษณะการสบฟันผิดปกติศึกษาจากหุ่นจำลองแบบฟัน โดยใช้เกณฑ์การสำรวจจององค์การอนามัยโลก ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. ความผิดปกติเกี่ยวกับสภาพฟันแต่ละซี่ซึ่งพบมากที่สุด คือ การมีฟันแท้ขาดหายไป (31.80%) ความผิดปกติเกี่ยวกับสภาพช่องว่างซึ่งพบมากที่สุด คือ ฟันซ้อนเก (37.54%) และความผิดปกติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของฟันบนล่างซึ่งพบว่ามากที่สุด คือ เส้นกึ่งกลางฟันเบี่ยงเบน (19.06%) 2. การสบฟันผิดปกติซึ่งมีความแตกต่างระหว่างเพศ คือ ขนาดโอเวอร์ไบท์มากกว่าปกติ มักพบในเด็กชายมากกว่า 3. ในบรรดากลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 17.87% ไม่จำเป็นต้องบำบัดรักษาทางทันตกรรม จัดฟัน ในขณะที่ 16.38% ควรเฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลง 45.70% จำเป็นต้องบำบัดรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน และ 20.05% จำเป็นต้องบำบัดรักษาเร่งด่วน ตามลำดับ |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this study were to determine the prevalence rates of maloctlusion, . to scrutinize sex differences in these rates and to estimate the need of orthodontic treatment in a group of Thai children A total of 873 Th~i children, 458 boys and 415 girls, were randomly selected from schoolchildren in 4 districts of Chonburi province. All of them, aged 12-14 years, had permanent dentitions and had received no orthodontic treatment. The status of a child's malocclusion was scrutinized from the study model. By using the basic method for the recording of malocclusion proposed by the World Health Organization, we concluded that :1. among the dental anomalies, missing permanent teeth was the most common malocclusion (31.80%). In regard to space ano~alies, crowding was the ~ost common malocclusion (37.50%). In regard to occlusal anomalies, midline shift was the most common Ralocclusion (19.06%); 2. there was significant sex difference in the prevalence rate of excessive overbite which was more common in the boys; 3. no orthodontic treatment was required in 17.877. of the children while 16.387. were considered necessary to follow the occlusal change, 45.707. were in need of orthodontic treatment and 20.057. were in immediate need of orthodontic treatment, respectively. |
|
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2527 |
en |
dc.format.extent |
11406199 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การรักษาฟัน |
en |
dc.subject |
การดูแลทันตสุขภาพ -- ไทย -- ชลบุรี |
en |
dc.subject |
ทันตกรรมจัดฟัน |
en |
dc.subject |
ทันตกรรมจัดฟัน -- การวินิจฉัย -- ไทย -- ชลบุรี |
en |
dc.subject |
การสบฟันผิดปกติ -- ไทย -- ชลบุรี |
en |
dc.title |
ปัญหาและความต้องการทางทันตกรรมจัดฟันในชนบท : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Orthodontic problem and need in rural area |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Smorntree@hotmail.com |
|