DSpace Repository

ผลของลักษณะที่แตกต่างกันของสภาพผลึกไทเทเนียมออกไซด์ที่ขึ้นรูปเป็นฟิล์มบางด้วยวิธีโซล-เจลต่อปริมาณการสร้างไฟบริน : การศึกษาเปรียบเทียบในห้องปฏิบัติการ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ณรงค์ ลุมพิกานนท์
dc.contributor.advisor ประสิทธิ์ ภวสันต์
dc.contributor.author อนรรฆพันธุ์ คำตัน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2013-07-27T07:47:14Z
dc.date.available 2013-07-27T07:47:14Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33446
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en_US
dc.description.abstract การศึกษาในห้องปฏิบัติการณ์นี้ ได้ถูกออกแบบมาเพื่อศึกษาการเกาะยึดของเกล็ดเลือด และการสร้างไฟบรินบนสภาพผลึกที่แตกต่างกันของไทเทเนียมออกไซด์ ที่ขึ้นรูปเป็นชั้นฟิล์มบางด้วยวิธีโซล-เจล โดยใช้เลือดรวมส่วนที่ปราศจากสารต้านการแข็งตัว ชั้นฟิล์มบางไทเทเนียมออกไซด์ถูกขึ้นรูปบนแผ่นกระจกสไลด์ด้วยวิธีโซล-เจล แบบจุ่มเคลือบ โดยเคลือบให้ได้ความหนา 1-4 ชั้น และปรับสภาพด้วยความร้อนที่อุณหภูมิต่างกัน (200℃ และ 550℃) ลักษณะเชิงภูมิศาสตร์ระดับนาโนสเกลของพื้นผิว สภาพผลึก และองค์ประกอบของธาตุบนชั้นฟิล์มบางไทเทเนียมออกไซด์ ตรวจวัดโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม เทคนิกเอ็กซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน และเทคนิกอีดีเอ็กซ์ ตามลาดับ โดยพบว่าการสภาพเป็นผลึกของไทเทเนียมออกไซด์บนฟิล์มบางหนา 1 ชั้นที่ปรับสภาพด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 200℃ (200-1) มีลักษณะอสัณฐาน ในขณะที่การเรียงตัวของผลึกไทเทเนียมออกไซด์บนฟิล์มบางหนา 4 ชั้นที่ปรับสภาพด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 550℃ (550-4) มีลักษณะอะนาเทส เมื่อนำฟิล์มบางที่มีการเรียงตัวของผลึกไทเทเนียมออกไซด์ที่แตกต่างกัน 2 แบบนี้ มาศึกษาปฏิกริยาทางชีววิทยาเบื้องต้นคือ การเกาะยึดของเกล็ดเลือด และการสร้างไฟบริน โดยใช้เลือดรวมส่วนที่ปราศจากสารต้านการแข็งตัว ด้วยภาพจากกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด ไม่ปรากฎความแตกต่างของการเกาะยึดของเกล็ดเลือดบนตัวอย่าง 200-1 และ 550-4 แต่พบว่าตัวอย่าง 550-4 มีการสร้างไฟบรินในระดับที่สูงกว่าตัวอย่าง 200-1 ผลการวิจัยบ่งชี้ว่า สภาพผลึกไทเทเนียมออกไซด์แบบอะนาเทส ส่งเสริมการสร้างไฟบรินได้ดีกว่า en_US
dc.description.abstractalternative This in vitro study was designed to investigate platelet adhesion and fibrin clot formation on different crystallinities of sol-gel derived TiO₂ thin film using non anti-coagulated human fresh whole blood. TiO₂ thin film was prepared on glass slide substrate by sol-gel dip coating technique to generate 1-4 layers of film and heat-treated at different temperatures (200℃and 550℃). Surface nano-topography, crystallinity and element composition of TiO₂ film were determined by atomic force microscope, x-ray diffraction and EDX techniques respectively. The crystallinity of the TiO₂ thin film heat-treated at 200℃, 1 cycle (200-1) was amorphous, while that at 550℃, 4 cycles (550-4) was anatase. These two different crystalline TiO₂ films were subjected to a study of initial biological reactions: platelet adhesion and fibrin clot formation utilizing human venous fresh whole blood. SEM image illustrated that both 200-1 and 550-4 did not show different effects on platelet adhesion but the 550-4 exhibited higher degree of fibrin clot formation than the 200-1. The results suggested that the crystallinity of TiO₂ in anatase phase demonstrated a better result of fibrin clot formation. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1444
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ไทเทเนียมไดออกไซด์ en_US
dc.subject ฟิล์มบาง en_US
dc.subject โซล-เจล en_US
dc.subject วัสดุทางการแพทย์ en_US
dc.subject ไฟบริน en_US
dc.subject Titanium dioxide en_US
dc.subject Thin films en_US
dc.subject Sol-gel en_US
dc.subject Biomedical materials en_US
dc.subject Fibrin en_US
dc.title ผลของลักษณะที่แตกต่างกันของสภาพผลึกไทเทเนียมออกไซด์ที่ขึ้นรูปเป็นฟิล์มบางด้วยวิธีโซล-เจลต่อปริมาณการสร้างไฟบริน : การศึกษาเปรียบเทียบในห้องปฏิบัติการ en_US
dc.title.alternative Effects of different crystalline of sol-gel derived titanium oxide thin film on fibrin clot formation : a comparative in vitro study en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Narong.L@Chula.ac.th
dc.email.advisor Prasit.Pav@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.1444


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record