DSpace Repository

ภาวะเจริญพันธุ์ในอนาคต : การประยุกต์ใช้แนวคิดวิเคราะห์ของคูมส์

Show simple item record

dc.contributor.author เกื้อ วงศ์บุญสิน
dc.contributor.other วิพรรณ ประจวบเหมาะ รูฟโฟโล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันประชากรศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2006-06-16T08:10:16Z
dc.date.available 2006-06-16T08:10:16Z
dc.date.issued 2537
dc.identifier.isbn 9746310089
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/350
dc.description.abstract รายงานการวิจัยนี้เป็นการพยายามศึกษาถึงทัศนคติและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะเจริญพันธุ์ในอนาคต ในด้านจำนวนบุตรแบะเพศของบุตรที่ปรารถนา ซึ่งความปรารถนาดังกล่าวเป็นผลสะท้อนของอิทธิพลทางด้านสังคมและวัฒนธรรม การศึกษานี้ได้ใช้แนวการสัมภาษณ์และการวิเคราะห์ของคูมส์ โดยใช้ข้อมูล 2 ชุด ชุดแรกเป็นข้อมูลจากการสำรวจทัศนคติเกี่ยวกับบุตร พ.ศ. 2531 ที่ดำเนินการโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลชุดที่สองเป็นข้อมูลจากการสำรวจในปี พ.ศ. 2536 โดยสถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลจากการศึกษาพบว่า คนส่วนใหญ่ยังปรารถนาที่จะมีบุตรโดยเฉลี่ย 2-3 คน และต้องการมีบุตรทั้ง 2 เพศ และเมื่อนำปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม อาทิ เช่น การศึกษา อาชีพ รายได้ มาพิจารณาร่วมด้วย ยังคงพบว่ามีแนวโน้มที่ต่างกันไม่มากนัก คือผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมดี มีแนวโน้มที่ปรารถนาจำนวนบุตรน้อยกว่าผู้ที่มีฐานะด้อยกว่า แต่โดยส่วนใหญ่ปรารถนาที่จะมีบุตรประมาณ 2 คน ยกเว้น เมื่อพิจารณาแยกตามภาคพบความแตกต่างกันบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือตอนบนที่มีแนวโน้มที่มีจำนวนบุตรที่ปรารถนาต่ำกว่าระดับทดแทน en
dc.description.abstractalternative This research report attempts to study the attitudes and behavior related to the fertility in the future. The desired family size and gender of children, which reflect social and cultural influences, are measured and analyzed by using Coombs's scales. The data are from the survey of Social Attitudes 1988, which was collected by the National Statistical Office, and a new survey which was collected by the Institute of Population Studies. The results show that most of the respondents still desire 2-3 children and desire both genders. Even controlling for various socio-economic variables such as education, occupation, income, and region of residence, we found that the people who have high social and economic status tend to have a lower desired family size; however, most people still want 2 children. Considering different regions we found only Upper North has a trend for the desired size to be below the replacement level. en
dc.description.sponsorship ทุนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.format.extent 17220980 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ภาวะเจริญพันธุ์--ไทย en
dc.subject นโยบายประชากร--ไทย en
dc.subject ไทย--ประชากร en
dc.title ภาวะเจริญพันธุ์ในอนาคต : การประยุกต์ใช้แนวคิดวิเคราะห์ของคูมส์ en
dc.title.alternative Thailand's fertility future : an application of Coombs's analysis en
dc.type Technical Report en
dc.email.author Kua.W@chula.ac.th
dc.email.author Vipan.P@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record