DSpace Repository

พัฒนาการเชิงพื้นที่ของย่านบ้านหม้อ กรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ
dc.contributor.author ปณต รัตนชุม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.coverage.spatial กรุงเทพฯ
dc.coverage.spatial บ้านหม้อ
dc.date.accessioned 2013-08-20T06:55:36Z
dc.date.available 2013-08-20T06:55:36Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35669
dc.description วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 en_US
dc.description.abstract งานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา ตลอดจนพัฒนาการเชิงพื้นที่ สังคม และเศรษฐกิจของย่านบ้านหม้อตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเชิงพื้นที่ อันนำไปสู่ การระบุเงื่อนไขเชิงพื้นที่ที่สำคัญที่สามารถทำให้ย่านการค้าเก่า สามารถดำรงความมีชีวิตชีวาของรูปแบบพาณิชยกรรมอยู่ได้ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางเบื้องต้นของการพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่ย่านบ้านหม้อ และการประยุกต์ใช้กับพื้นที่ย่านการค้าเก่าอื่นๆ ในกรุงเทพฯ การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ของพื้นที่ศึกษา วิเคราะห์โครงสร้างและองค์ประกอบเชิงพื้นที่ของเมืองในรายละเอียดของ รูปแบบโครงข่ายการสัญจรและการเข้าถึงของพื้นที่ (transport and accessibility pattern) รูปแบบความหนาแน่นของสิ่งปลูกสร้างต่อพื้นที่ว่าง (figure and ground pattern) รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน/อาคาร (land use / building use pattern) ในช่วงเวลาต่างๆ ของย่านบ้านหม้อ ผลการศึกษาพบว่า ย่านบ้านหม้อเป็นย่านที่มีรูปแบบและลักษณะของการเข้าถึงที่ดี โดยเฉพาะมีความสัมพันธ์และฝังตัวอยู่กับบริบทเชิงพื้นที่ของย่านและเมืองมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รูปแบบการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่เกิดขึ้นเป็นไปในรายละเอียดปลีกย่อยภายในพื้นที่เท่านั้น ได้แก่ การปรับเปลี่ยนรูปแบบประโยชน์การใช้ที่ดินและการใช้อาคารภายในบล็อก การขยายอาคารใหม่สู่แปลง-บล็อกว่าง หรือการเพิ่มความหนาแน่น การเพิ่มชั้นอาคาร การเชื่อมแปลงที่ดิน การปรับเปลี่ยนบางส่วน หรือทั้งหมดของบล็อกอาคาร การปรับขนาดบล็อกอาคารจากการเปลี่ยนผังถนน ซึ่งเป็นลักษณะของพื้นที่พาณิชยกรรมกลางเมืองที่ดี ทำให้มีรูปแบบกิจกรรมการค้าเกิดขึ้นในพื้นที่อย่างหลากหลาย เช่น ร้านค้าเพชรและเครื่องประดับบริเวณถนนเจริญกรุง ร้านค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าบริเวณแยกบ้านหม้อและซอยทิพย์วารี รวมไปถึงหาบเร่แผงลอยสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในบริเวณดังกล่าว อีกทั้งยังมีผู้คนหลากหลายประเภทในแต่ละช่วงเวลา การรักษาคุณสมบัติเชิงพื้นที่ของย่านบ้านหม้อดังกล่าว รวมทั้งการส่งเสริมให้เกิดการใช้พื้นที่ที่เอื้อต่อการเกิดลักษณะความเป็นอเนกประโยชน์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับย่านพาณิชยกรรมแห่งอื่นๆ ต่อไปได้ en_US
dc.description.abstractalternative This research aims to examine the spatial development, social and economic area through the history of Bann Mor area. As well as the factors which affect to spatial development that bring about to significant spatial identification for sustain the vivid of old commercial area. Including offer the preliminary ways of Baan Mor area’s development and also apply to other commercial areas in Bangkok. Several methods which use in this research are the spatial changes analysis of case study area, analyze the structure and urban spatial elements from transport and accessibility pattern, land use / building use pattern, figure and ground pattern in each period of Bann Mor. The empirical results indicate that Baan Mor area has a good accessibility pattern, especially related and embed in the spatial context of area and city until now. Although it has some replacement - internal reorganization of old urban area only such as land use / building use change, expanding building to plot or block space or increasing the density, increasing of building floor, connecting the land plot, the modification of some or whole of building block, the modification the size of building block from changing the road plan which is a characteristic of the good commercial downtown areas. Such things make various trading activities take place in this area. For example, diamond and jewelry store at Charernkrung Road, electric appliances shop at Baan Mor Road and Soi Thipwaree, including electronic goods vendors in the area. Also, there are various activities and people in different periods. According to maintaining the spatial property of Baan Mor area, it does not only promote the use of area for multi purposes, but it can also be applied to other old commercial areas. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.593
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ผังเมือง en_US
dc.subject ผังเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- บ้านหม้อ en_US
dc.subject เมือง -- แง่เศรษฐกิจ en_US
dc.subject เมือง -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- บ้านหม้อ en_US
dc.subject การปรับปรุงเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- บ้านหม้อ en_US
dc.subject บ้านหม้อ -- ภาวะสังคม en_US
dc.subject บ้านหม้อ -- ภาวะเศรษฐกิจ en_US
dc.subject City planning en_US
dc.subject City planning -- Thailand -- Bangkok -- Baan Mor en_US
dc.subject Cities and towns -- Economic aspects en_US
dc.subject Cities and towns -- Economic aspects -- Thailand -- Bangkok -- Baan Mor en_US
dc.subject Civic improvement -- Thailand -- Bangkok -- Baan Mor en_US
dc.subject Baan Mor -- Social conditions en_US
dc.subject Baan Mor -- Economic conditions en_US
dc.title พัฒนาการเชิงพื้นที่ของย่านบ้านหม้อ กรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative Spatial development of Baan Mor area in Bangkok en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การวางแผนภาคและเมือง en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor mee2mee@hotmail.com
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.593


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record