DSpace Repository

ประสิทธิภาพของวิธีการตรวจเซลล์เยื่อบุช่องคลอดและการเกิดผลึกของเมือกที่เก็บจากช่องคลอดในการตรวจการเป็นสัดของสุกรนาง

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิชัย ทันตศุภารักษ์
dc.contributor.advisor สุดสรร ศิริไวทยพงศ์
dc.contributor.author ณ พัทธ์ ปัณฑุกำพล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2013-09-17T08:55:59Z
dc.date.available 2013-09-17T08:55:59Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35939
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 en_US
dc.description.abstract การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการใช้การตรวจเซลล์เยื่อบุช่องคลอดและการเกิดผลึกของเมือกที่เก็บจากปากช่องคลอดในการเป็นเครื่องมือในการตรวจการเป็นสัดสุกรนางแบบแบบรายตัว และเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการตรวจเซลล์เยื่อบุช่องคลอดสองวิธีที่แตกต่างกัน รวมถึงเพื่อศึกษาผลกระทบจากการจัดการในโครงการหมูอินทรีย์ที่มีต่อระบบสืบพันธุ์ ซึ่งจากการศึกษาก่อนหน้าพบว่าส่งผลต่อระดับการแสดงการเป็นสัด และระยะเวลาตกไข่ การศึกษานี้จะแบ่งออกเป็น 2 การศึกษาย่อย โดยการศึกษาที่ 1 เป็นแม่สุกรสองสาย (ลาร์จไวต์ x แลนด์เรซ) ที่เพิ่งหย่านม ช่วงลำดับครอกที่ 2-4 จำนวน 20 ตัว จากฟาร์มสุกรแห่งหนึ่ง และการศึกษาที่ 2 เป็นแม่สุกรสองสายที่เพิ่มหย่านม จำนวน 5 ตัว จากโครงการหมูอินทรีย์ จังหวัดน่าน เก็บตัวอย่างตั้งแต่หย่านมจนผ่านวันตกไข่ไปแล้ว 2 วัน โดยเก็บตัวอย่างวันละครั้ง ด้วยการใช้กระจกสไลด์สัมผัสเพื่อเก็บเมือกบริเวณปากช่องคลอด และใช้การเก็บเซลล์เยื่อบุช่องคลอดโดยการชะล้างด้วยน้ำเกลือปลอดเชื้อ ควบคู่กับการใช้ไม้พันสำลีเช็ดเก็บตัวอย่างจากช่องคลอดลงบนกระจกสไลด์ นอกจากนั้นยังใช้การสังเกตพฤติกรรมการเป็นสัด และการใช้อัลตราซาวด์ชนิดเรียลไทม์บีโหมดเพื่อระบุวันตกไข่ที่แท้จริง การศึกษาที่ 1: พบว่าสุกรนางร้อยละ 95 (19/20) แสดงการเกิดผลึกได้ โดยเกิดผลึกในวันตกไข่ร้อยละ 20 (4/20) ล่วงหน้าก่อนการตกไข่ร้อยละ 60 (12/20) และหลังการตกไข่ไปแล้วร้อยละ 50 (10/20) ระดับคะแนน +2 เป็นระดับที่พบมากที่สุด (19/119) ความถี่ของคะแนน +2 นี้มากที่สุดก่อนและหลังวันตกไข่ 1 วัน คิดเป็นร้อยละ 73.68 (14/19) การตรวจเซลล์เยื่อบุช่องคลอด พบว่าการเก็บตัวอย่างด้วยการชะล้างได้ ตัวอย่างเซลล์เยื่อบุช่องคลอดร้อยละ 61.87 (86/139ป พบสัดส่วนเซลล์ในแต่ละวัน (small intermediate, large intermediate, superficial) ตั้งแต่ ก่อนการตกไข่ 3 วัน (52.70±23.96, 25.00±14.14, 19.30±19.25) 2 วัน (71.47±19.79, 15.33±10.43, 11.20±15.36) 1 วัน (59.62±24.96, 20.38±14.64, 20.00±23.00) ในวันตกไข่ (59.00±37.48, 18.08±13.93, 18.31±22.22) หลังตกไข่ 1 วัน (38.85±31.10, 40.38±22.77, 20.77±13.67) และ 2 วัน (58.75±14.66, 32.50±18.93, 8.75±8.54) ตัวอย่างที่เก็บด้วยการเช็ดล้างพบว่าได้ตัวอย่างเซลล์ร้อยละ 91.37 (127/139) พบสัดส่วนเซลล์ในแต่ละวัน ตั้งแต่ก่อนการตกไข่ 3 วัน (62.65±21.15, 24.75±12.72, 12.60±15.27) 2 วัน (60.15±22.52, 23.00±14.27, 17.35±20.85) 1 วัน (41.32±19.71, 33.68±15.44, 25.00±21.56) วันตกไข่ (51.25±28.28, 26.00±16.67, 22.75±23.76) หลังวันตกไข่ 1 วัน (20.29±15.46, 37.35±14.37, 42.35±24.88) และ 2 วัน (22.00±11.51, 38.00±10.37, 40.00±18.71) การศึกษาที่ 2: พบว่าสุกรนางร้อยละ 75 (3/4) แสดงการเกิดผลึกได้ และแสดงการเกิดผลึกในวันตกไข่ ด้วยคะแนน +2 การตรวจเซลล์เยื่อบุช่องคลอด พบว่าการเก็บตัวอย่างด้วยการชะล้างได้ตัวอย่างเซลล์เยื่อบุร้อยละ 86.20 (25/29) พบสัดส่วนเซลล์ในแต่ละวัน ตั้งแต่ก่อนการตกไข่ 3 วัน (41.67±37.53, 18.33±18.93, 40.00±43.59) 2 วัน (76.67±15.28, 10.00±10.00, 16.67±20.82) 1 วัน (30.00±14.14, 26.25±17.67, 43.75±20.56) ในวันตกไข่ (45.00±37.75, 18.00±9.08, 37.00±34.57) หลังตกไข่ 1 วัน (31.25±23.94, 33.75±14.93, 35.00±33.17) และ 2 วัน (17.50±10.61, 52.50±24.75, 30.00±14.14) ตัวอย่างที่เก็บด้วยการเช็ดล้างพบว่าได้ตัวอย่างเซลล์ร้อยละ 86.67 (26/30) พบสัดส่วนเซลล์ในแต่ละวัน ตั้งแต่ก่อนการตกไข่ 3 วัน (26.67±25.17, 23.33±5.77, 50.00±26.46) 2 วัน (15.00±21.21, 35.00±21.21, 50.00±42.43) 1 วัน (31.25±36.14, 23.75±4.79, 50.00±35.59) ในวันตกไข่ (46.00±40.53, 26.00±16.36, 32.00±25.88) หลังตกไข่ 1 วัน (31.67±23.63, 35.00±18.03, 46.67±35.12) และ 2 วัน (37.50±31.82, 22.50±3.54, 22.50±3.54) โดยสรุป การเกิดผลึกของเมือกที่เก็บจากปากช่องคลอดของสุกรมีแนวโน้มสัมพันธ์กับการตกไข่ โดยเฉพาะสุกรในโครงการหมูอินทรีย์ซึ่งแสดงความสัมพันธ์กับวันตกไข่อย่างชัดเจนว่า ส่วนการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เยื่อบุช่องคลอด พบว่ามีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกับการตกไข่ แต่ความแม่นยำของผลที่ได้ต่ำ โดยเฉพาะในการเก็บตัวอย่างด้วยการชะล้างช่องคลอด ในทางปฏิบัติควรใช้การตรวจการลดลงของเซลล์เยื่อบุชนิด small intermediate รวมทั้งอาจต้องมีการพัฒนาแนวทางปฏิบัติเล็กน้อยเพื่อให้ผลที่ได้จากตัวอย่างมีความถูกต้องและแม่นยำที่สูงขึ้น en_US
dc.description.abstractalternative This study aim to determine the efficiency of vaginal cytology and vulvar arborisation for individual oestrous detection in sow and to compare the efficiency of two difference protocol were used in vaginal cytology. Moreover, this study was also focus on the effect of two difference managements. The study was divided into two parts. Part I performed in 20 weaning cross-breed (LWxLR) sows within 2nd-4th parity in the farm. Part II performed in 5 weaning cross-breed (LWxLR) sows in organic pig project in Nan province. The samples were collected once a day since the weaning day until the sows were inseminated for a couple of day. Sample collection compose of the arborisation (impression smear at the vulvar) and the vaginal cytology (flushing with sterile normal saline and swabbing with moistened cotton swab). Inspection of behavioral change and ultrasound technique were also performed. Part I: 95% (19/20) of sows showed the arborisation. 20% (4/20) of sows showed exactly on the ovulation day. 60 (12/20) and 50% (10/20) of sows showed before and after the ovulation day, respectively. Score +2 was found the most. This score was likely to be found on d-1 and d+1 at 73.68% (14/19). The flushing vaginal cytology was found that 61.87% (86/139) of samples can be found epithelium cells. The proportion of each cell type (small intermediate, large intermediate, superficial) were found on d-3 (52.70±23.96, 25.00±14.14, 19.30±19.25), d-2 (71.47±19.79, 15.33±10.43, 11.20±15.36), d-1 (59.62±24.96, 20.38±14.64, 20.00±23.00), d0 (59.00±37.48, 18.08±13.93, 18.31±22.22), d+1 (38.85±31.10, 40.38±22.77, 20.77±13.67), and d+2 (58.75±14.36, 32.50±18.93, 8.75±8.54). The swabbing vaginal cytology was found that 91.37% (127/139) of samples can be found epithelium cells. The proportion of each cell type were found on d-3 (62.65±21.15, 24.75±12.72, 12.60±15.27), d-2 (60.15±22.52, 23.00±14.27, 17.35±20.85), d-1 (41.32±19.71, 33.68±15.44, 25.00±21.86), d0 (51.25±28.28, 26.00±16.67, 22.75±23.76), d+1 (20.29±15.46, 37.35±14.37, 42.35±24.88), and d+2 (22.00±11.51, 38.00±10.37, 40.00±18.71). Part II: 75% (3/4) of sows were show the arborisation. All of shown arborisation occurred on the ovulation day with score +2. The flushing vaginal cytology was found that 86.20% (25/29) of samples can be found epithelium cells. The proportion of each cell type were found on d-3 (41.67±37.53, 18.33±18.93, 40.00±43.59), d-2 (76.67±15.28, 10.00±10.00, 16.67±20.82), d-1 (30.00±14.14, 26.25±17.97, 43.75±20.56), d0 (45.00±37.75, 18.00±9.08, 37.00±34.57), d+1 (31.25±23.94, 33.75±14.93, 35.00±33.17), and d+2 (17.50±10.61, 52.50±24.75, 30.00±14.14). The swabbing vaginal cytology was found that 86.67% (26/30) can be found epithelium cells. The proportion of each cell type were found on d-3 (26.67±25.17, 23.33±5.77, 50.00±26.46), d-2 (15.00±21.21, 35.00±21.21, 50.00±42.43), d-1 (31.25±36.14, 23.75±4.79, 50.00±35.59), d0 (46.00±40.53, 26.00±16.36, 32.00±25.88), d+1 (31.67±23.63, 35.00±18.03, 46.67±35.12), and d+2 (37.50±31.82, 22.50±3.54, 22.50±3.54). In conclusion, The vulvar arborisation tends to have some relationship with the ovulation time, especially in organic pig in Nan province. The vaginal cytology is also relate with ovulation time, but the specificity is still low, especially in flushed sample. In practice, we suggest to detect the decreasing of small intermediate cell instead of the rising of superficial cell. Furthermore, the protocol should be developed in the future to get higher reliable result. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.706
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การป้ายตรวจหาเชื้อจากช่องคลอด en_US
dc.subject อวัยวะสืบพันธุ์หญิง -- การตรวจสอบ en_US
dc.subject สุกรตัวเมีย en_US
dc.subject Vaginal smears en_US
dc.subject Generative organs, Female -- Examination en_US
dc.subject Sows en_US
dc.title ประสิทธิภาพของวิธีการตรวจเซลล์เยื่อบุช่องคลอดและการเกิดผลึกของเมือกที่เก็บจากช่องคลอดในการตรวจการเป็นสัดของสุกรนาง en_US
dc.title.alternative Efficiencies of vaginal cytology and arborization of vaginal mucus for oestrous detection in sow en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor wichai.t@chula.ac.th
dc.email.advisor Sudson.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.706


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record