DSpace Repository

การจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของโรงเรียนแต่ละเหล่า

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
dc.contributor.author อาทิตย์ษณีย์ เจริญรัตน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned 2013-10-16T01:41:14Z
dc.date.available 2013-10-16T01:41:14Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36182
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของ โรงเรียนแต่ละเหล่า ศึกษาความต้องการในการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของนักเรียนแต่ละเหล่า และเพื่อเปรียบเทียบความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของนักเรียนแต่ละ เหล่า ในด้านบุคลากร ด้านกิจกรรมกีฬาและการออกกำลังกาย ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความ สะดวก และด้านการจัดการ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนแต่ละเหล่า จำนวน 339 นาย โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออกกำลัง กายของนักเรียนแต่ละเหล่า โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way analysis of variance: ANOVA) ในกรณีที่พบความแตกต่าง จะวิเคราะห์ความแตกต่างนั้นเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ (Scheffe’s method) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนแต่ละเหล่า มีความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออกกำลังกาย โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. นักเรียนที่สังกัดโรงเรียนต่างกัน มีความต้องการทรัพยากรในการจัดการกีฬาและการออก กำลังกาย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.description.abstractalternative The purposes of this study were to study and to compare sports and exercise management of each cadet school and to find the differences between their needs for sports and exercise management as well as the resources needed for sports and exercise management. Three hundred and thirty nine cadet students from Army Cadet, Air Force Cadet, Navy Cadet and Police Cadet were randomly taken to be the sample of the study. The information was collected through questionnaires, and was analyzed statistically by finding frequency, percentage, average, and standard deviation. One-Way analysis of variance (ANOVA) was used to compare needs for sports and exercise management of the four Royal Thai Cadet Schools. If the results were statistically different at the level .05, Scheffe’s method was then employed. The results were as follow: 1. Cadet students from all Royal Thai Cadet Schools highly needed better sports management resource. 2. Cadet students from different cadet schools needed different better sports management resource at a significant level of .05. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1098
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การออกกำลังกาย -- การจัดการ en_US
dc.subject โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า en_US
dc.subject โรงเรียนนายเรือ en_US
dc.subject โรงเรียนนายเรืออากาศ en_US
dc.subject โรงเรียนนายร้อยตำรวจ en_US
dc.subject Exercise -- Management en_US
dc.subject Chulachomklao Royal Military Academy en_US
dc.subject Royal Thai Naval Academy en_US
dc.subject Royal Air Force Academy en_US
dc.subject Royal Police Cadet Academy en_US
dc.title การจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของโรงเรียนแต่ละเหล่า en_US
dc.title.alternative Sports and exercise management of each cadet school en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์การกีฬา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor tonchaipat@hotmail.com
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.1098


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record