DSpace Repository

ปริมาณฟลูออไรด์ที่เพิ่มขึ้นในผิวเคลือบฟันแท้ ภายหลังการใช้น้ำยาบ้วนปากฟลูออไรด์และฟลูออไรด์เจลชนิดความเข้มข้นสูงที่ใช้ด้วยตนเอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor รุจิรา เผื่อนอัยกา
dc.contributor.author ณัฐนันท์ โกวิทวัฒนา, 2522-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2007-07-13T09:56:20Z
dc.date.available 2007-07-13T09:56:20Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9745329126
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3647
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณฟลูออไรด์ที่เพิ่มขึ้นในผิวเคลือบฟันภายหลังการใช้น้ำยาบ้วนปากฟลูออไรด์ที่ผลิตโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และฟลูออไรด์เจลชนิดความเข้มข้นสูงที่ใช้ด้วยตนเอง โดยคัดเลือกอาสาสมัคร 64 คน จากเด็กอายุ 8-14 ปี จากสถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านมหาเมฆ จากนั้นแบ่งเด็กออกเป็นสองกลุ่มตามความเข้มข้นของปริมาณฟลูออไรด์ในผิวเคลือบฟันก่อนการวิจัย เก็บตัวอย่างผิวเคลือบฟันโดยใช้วิธีกรดกัดบริเวณปลายฟันด้านริมฝีปากของฟันตัดแท้ซี่กลางบนที่ไม่มีรอยผุ หรือรอยโรคทั้งก่อนและหลังใช้ฟลูออไรด์ ทั้ง 2 รูปแบบด้วยตนเอง นำตัวเอย่างผิวเคลือบฟันที่ได้ไปวิเคราะห์หาปริมาณฟลูออไรด์ และปริมาณแคลเซียมฟลูออไรด์อิเลคโทรด และเครื่องอะตอมมิกแอบซอพชันสเปคโทรโฟโตรมิเตอร์ (atomic absorption spectrophotometer) ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณฟลูออไรด์ในผิวเคลือบฟันที่เพิ่มขึ้นจากการใช้น้ำยาบ้วนปากฟลูออไรด์มีปริมาณเฉลี่ย 1,746.0910+-696.362 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ฟลูออไรด์เจลชนิดความเข้มข้นสูงที่มีปริมาณเฉลี่ย 2,198.0125+1066.242 ส่วนในล้านส่วน จากผลการวิจัยสรุปว่า น้ำยาบ้วนปากฟลูออไรด์ที่ผลิตโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และฟลูออไรด์เจลชนิดความเข้มข้นสูงที่ใช้ด้วยตนเองให้ผลไม่แตกต่างกันในด้านการเพิ่มปริมาณฟลูออไรด์ในผิวเคลือบฟันแท้ที่ไม่มีรอยโรค en
dc.description.abstractalternative The objective of this study was to compare the fluoride uptake in enamel after use of Chulalongkorn University fluoride mouthrinse and self-applied fluoride gel. Sixty four participants were recruited from 8-14 year-old boys in Mahamek Home for Boys, then divided into two groups according to their surface enamel fluoride concentration. An acidetch enamel biopsy was performed on incisal part of labial surface of the caries and lesion free of upper central incisors before and after use of both types of self used fluoride. The enamel samples were analysed for the amounts of fluoride and calcium by using fluoride-electrode and atomic absorption spectrophotometer respectively. The results showed that enamel fluoride uptake of fluoride mouthrinse (1,746.0910+-696.362 part per million) was not statistically different (p>.0.05) from self-applied fluoride gel. (2,198.0125+1066.242 part per million). The finding of this investigation conclude that fluoride mouthrinse is as good as a self-applied fluoride gel in termsof promoting fluoride uptake on lesion free enamel surface. en
dc.format.extent 1133144 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1251
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ฟัน en
dc.subject น้ำยาบ้วนปาก en
dc.subject ฟลูออไรด์ en
dc.title ปริมาณฟลูออไรด์ที่เพิ่มขึ้นในผิวเคลือบฟันแท้ ภายหลังการใช้น้ำยาบ้วนปากฟลูออไรด์และฟลูออไรด์เจลชนิดความเข้มข้นสูงที่ใช้ด้วยตนเอง en
dc.title.alternative Fluoride uptake in enamel surface after use of fluoride mouthrinse and self-applied fluoride gel en
dc.type Thesis en
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline ทันตกรรมสำหรับเด็ก en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Rujira_P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2005.1251


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record