DSpace Repository

แนวทางการตีความอนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนในบริบทของกฎหมายระหว่างประเทศ : กรณีศึกษาของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศารทูล สันติวาสะ
dc.contributor.advisor ธิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย
dc.contributor.author ธีระวุฒิ เต็มสิริวัฒนกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2007-07-18T08:39:33Z
dc.date.available 2007-07-18T08:39:33Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741421125
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3713
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษากฎเกณฑ์การตีความสนธิสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง ซึ่งมีที่มาจากกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์แนวทางการปรับใช้กฎเกณฑ์ดังกล่าวกับอนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนของประเทศไทย จากการศึกษาการตีความอนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนในศาลนานาประเทศ มีแนวทางการตีความอยู่ 4 ประการ คือ ประการแรกใช้กฎเกณฑ์การตีความสนธิตามมาตรา 31,32 อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ประการที่สอง ใช้อนุสัญญาต้นแบบและคำอธิบายขององค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา หรือองค์การสหประชาชาติแล้วแต่กรณี ประการที่สาม ใช้คำอธิบายเชิงเทคนิคที่ประเทศนั้นเป็นผู้สร้างขึ้นเอง และประการสุดท้าย ใช้วิธีการตีความเช่นเดียวกับการตีความกฎหมายภาษีอากรโดยไม่พิจารณาบริบทระหว่างประเทศ ประเทศไทยตีความอนุสัญญาภาษีซ้อนโดยใช้วิธีการตีความเช่นเดียวกับการตีความกฎหมายภาษีอากรโดยไม่พิจารณากฎเกณฑ์การตีความสนธิสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศ และไม่ได้ใช้อนุสัญญาต้นแบบตลอดจนคำอธิบายมาช่วยในการตีความ ทั้งที่อาจนำมาใช้ประกอบการตีความได้ในฐานะงานเตรียมร่างสนธิสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศ การตีความสนธิสัญญาจะต้องสอดคล้องกับกฎเกณฑ์การตีความสนธิสัญญาที่ปรากฎอยู่ในอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ซึ่งแม้ประเทศไทยจะไม่ได้เป็นภาคีก็ตาม แต่ผูกพันในหลักเกณฑ์ดังกล่าวในฐานะที่เป็นกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ en
dc.description.abstractalternative The objective of this thesis is to analyse the rules of treaty interpretation of public international law. Those rules have their roots in customary international law. It is hoped that the analysis of such rules could also be applied to the interpretation of Conventions for the Avoidance of Double Taxation in Thailand. The thesis illustrates the study on the interpretation approach of conventions for the avoidance of double taxation applied by courts in other countries. According to the study in different jurisdiction, it could be concluded there are four important applications worth mentioning : 1. Employing Rule of Treaty Interpretation in Articles 31 & 32 of Vienna Convention on the Law of Treaties 1969; 2. Employing Organisation for Economic Cooperation and Development Model Tax Convention and their Commentaries; 3. Adopting Technical explanation invented by an own national court; 4. Applying the same interpretation method used for taxation law without taking into account the context on international law. The study also renders that Thailand follows the last application. This means that the context on international law is not considered. The study further argues that the model tax conventions and their commentaries are not acknowledged even though those conventions and commentaries might be useful for preparatory work. According to international law, the treaty interpretation must comply with the Rule of Treaty interpretation of Vienna Convention on the Law of Treaqties 1969. It is interesting to note that although Thailand is non party to the Convention, it is still bound by such Rule of the convention. This is because Thailand recognises that Rule as customary international law. en
dc.format.extent 1994366 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.116
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject อนุสัญญากรุงเวียนนา en
dc.subject สนธิสัญญา en
dc.subject การตีความ en
dc.subject อนุสัญญาภาษีซ้อน en
dc.subject การตีความ en
dc.subject กฎหมายระหว่างประเทศ en
dc.title แนวทางการตีความอนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนในบริบทของกฎหมายระหว่างประเทศ : กรณีศึกษาของประเทศไทย en
dc.title.alternative Approach to the interpretation of the conventions for the avoidance of double taxation in the contect of international law : a case study of Thailand en
dc.type Thesis en
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor Tithiphan.C@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2005.116


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record