dc.contributor.advisor |
ภุชงค์ เหล่ารุจิสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
อรพรรณ ตาทา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2013-12-12T08:01:48Z |
|
dc.date.available |
2013-12-12T08:01:48Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37513 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
en_US |
dc.description.abstract |
กลวิธีการเผชิญความเครียดเชิงรุก เป็นทฤษฎีการศึกษาการเผชิญความเครียด ในหลากหลายมิติ ซึ่งมองการเผชิญความเครียดเป็นเชิงบวกเพื่อการปรับตัวให้บรรลุไปถึง เป้าหมายที่ได้วางไว้ เน้นการพัฒนาตนเองมากกว่าแก้ปัญหาที่คุกคาม ซึ่งปัจจุบันยังไม่มี ผู้พัฒนาแบบวัดกลวิธีการเผชิญความเครียดเชิงรุกเป็นภาษาไทยอย่างเป็นทางการ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยฉบับนี้ คือ เพื่อแปลและพัฒนาเครื่องมือแบบวัดกลวิธีการ เผชิญความเครียดเชิงรุก ฉบับภาษาไทย ให้มีความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือ ในระดับที่ยอมรับได้ การศึกษาดำเนินการเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรตัวอย่างซึ่งเป็นนิสิต ระดับปริญญาตรี อายุ 18 ปี ขึ้นไป ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 308 คน โดยแต่ละท่านตอบแบบสอบถาม 1) ข้อมูล พื้นฐานทั่วไป และ 2) แบบวัดกลวิธีการเผชิญความเครียดเชิงรุกของ Greenglass, Schwarzer และ Taubert ซึ่งทดสอบ ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของเครื่องมือแบบวัดโดยตรวจสอบ ความตรง (Validity) คือ ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ (Content Validity) และ ความเที่ยง (Reliability) คือ ความสัมพันธ์ภายใน (Internal Consistency Reliability) โดยวิธีของ Cronbach (Cronbach's Alpha)
ผลการศึกษาพบว่า แบบวัดกลวิธีการเผชิญความเครียดเชิงรุกฉบับภาษาไทย มีความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือ ในระดับที่ยอมรับได้มีค่าสัมประสิทธ์อัลฟ่าของครอนบัค (Cronbach’s Alpha) ระหว่าง 0.70 – 0.81 ดังนั้นจึงสรุปว่า แบบวัดกลวิธีการ เผชิญความเครียดเชิงรุก ฉบับภาษาไทย ซึ่งประกอบไปด้วยข้อคำถาม 55 ข้อ แบ่งเป็น 7 มิติ ที่พัฒนามีค่าความเที่ยงตรงและความเชื่อถือ ในระดับที่ยอมรับได้ จำนวนข้อคำถามไม่มากเกินไป ที่จะนำมาใช้ในทางปฏิบัติ และแต่ละมิติสามารถนำไป แยกใช้วิจัยตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการวัดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการเผชิญความเครียด และการเผชิญความเครียดเชิงรุกในประเทศไทย |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The Proactive Coping Inventory (PCI), a research instrument, which takes a multidimensional approach to and positive facet of coping that aims for self-regulatory goal attainment and personal growth rather than focuses on self-regulatory threat appraisal. At this moment, PCI has not been officially developed into Thai version. The objective of this study is to develop and test the validity and reliability of The Proactive Coping Inventory: Thai Version for use as a multidimensional research instrument in Thai society. It is the descriptive study design by translating the psychometric instrument and assessing its validity and reliability. Study subjects were Chulalongkorn University undergraduate students aged 18 years, in 1st semester, academic year 2012, recruited purposively to answer 1) personal information questionnaire, and 2) the Proactive Coping Inventory (Greenglass, Schwarzer, and Taubert (1999)): Thai Version, translated from original English version, where Content Validity Index calculated after 5 experts reviewed. Reliability tested data collected data of Internal Consistency - Cronbach’s Alpha method.
The study finds that The Proactive Coping Inventory: Thai Version, validity and reliability assessed, internal consistency method, Pearson's product moment correlation results Cronbach’s Alpha between 0.70 – 0.81. It is then concluded that The Proactive Coping Inventory: Thai Version with 7 dimensions (55 items), possess good reliability and validity, suitable for use as multidimensional research instrument in Thai society. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1130 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การบริหารความเครียด -- การประเมิน |
en_US |
dc.subject |
ความเครียด (จิตวิทยา) -- การทดสอบ |
en_US |
dc.subject |
แบบทดสอบบุคลิกภาพ -- การประเมิน |
en_US |
dc.subject |
แบบวัดกลวิธีการเผชิญความเครียดเชิงรุก |
en_US |
dc.subject |
Stress management -- Evaluation |
en_US |
dc.subject |
Stress (Psychology) -- Testing |
en_US |
dc.subject |
Personality questionnaires -- Evaluation |
en_US |
dc.subject |
Proactive Coping Inventory (PCI) |
en_US |
dc.title |
การทดสอบความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ของแบบวัดกลวิธีการเผชิญความเครียดเชิงรุก ฉบับภาษาไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
The validity and reliability of The Proactive Coping Inventory (PCI) : Thai version |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
สุขภาพจิต |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
doctorpuchong@yahoo.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2012.1130 |
|