dc.contributor.advisor |
เสกสรร เกียรติสุไพบูลย์ |
|
dc.contributor.author |
วัชรชัย เอื้อกิจขจร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
|
dc.date.accessioned |
2014-03-19T11:05:38Z |
|
dc.date.available |
2014-03-19T11:05:38Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41490 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์นั้นมีความเสี่ยง และมีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนไม่เป็นตามที่คาดหวัง ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาความรู้ด้านการประเมินมูลค่าความเสี่ยงของกลุ่มการลงทุนออกมาเป็นค่าที่วัดได้เป็นตัวเลข หรือที่เรียกกันว่า Value at Risk ค่ามูลความเสี่ยง (Value at Risk:VaR) เป็นตัวเลขวัดความเสี่ยงของการขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นได้ ภายใต้ภาวะตลาดปกติ และภายในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งในทางสถิติจะประเมินโดยอาศัยความน่าจะเป็น หรือระดับความเชื่อมั่น เช่น ณ ระดับความเชื่อมั่น 95% ซึ่งหมายความว่าการเคลื่อนไหวของราคามีสิทธิที่จะหลุดออกนอกกรอบ ที่กำหนดโดยเฉลี่ย 100 วัน จะมีเหตุการณ์ที่ไม่ปกติปรากฏมา 5 วัน โดยทั่วไปในอุตสาหกรรมจะใช้การแจกแจงแบบปกติในการจำลองหาค่าVaR แต่ปัจจุบันได้มีผู้เริ่มใช้การแจกแจงแบบทีในการหาค่า VaR ผู้วิจัยจึงอยากทรายว่าค่า VaR ที่ได้ระหว่างการแจกแจงแบบทีทั้งคู่ให้ค่า VaR แตกต่างกันอย่างไรที่ระดับความเชื่อมั่นต่าง ๆที่สนใจ จากผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กรณีที่มีจำนวนข้อมูลภายในกลุ่มลงทุน 1 ตัว และ 2 ตัวที่ระดับความเชื่อมั่น 1% ถึง 2.5% ค่ามูลค่าความเสี่ยงของการแจกแจงปกติมาตรฐานมีค่ามากกว่าค่ามูลค่าความเสี่ยงของการแจงแจงที และ ที่ระดับความเชื่อมั่น 3% ถึง 5% ค่ามูลค่าความเสี่ยงของการแจกแจงทั้งสองมีความแตกต่างกันโดยมีจุดระดับความเชื่อมั่นที่ 3% เป็นจุดเปลี่ยน 2.กรณีที่มีจำนวนข้อมูลภายในกลุ่มลงทุน 3 ตัวขึ้นไป ที่ระดับความเชื่อมั่น 1% ถึง 3% ค่ามูลค่าความเสี่ยงของการแจกแจงปกติมาตรฐานมีค่ามากกว่าค่ามูลค่าความเสี่ยงของการแจกแจงที และที่ระดับความเชื่อมั่น 3.5% ถึง 5% ค่ามูลค่าความเสี่ยงของการแจกแจงทั้งสองมีความแตกต่างกันโดยมีจุดระดับความเชื่อมั่นที่ 3.5% เป็นจุดเปลี่ยน |
|
dc.description.abstractalternative |
Investing in the securities exchange market has its risks and also has a tendency not to receive the returns as a expected. The researcher; therefore, studies a risk assessment of portfolios measured in terms of value known as Value at Risk. Value at risk is a number used to measure risks of loss that may occur under normal condition of the market and under some specific period of time. It is evaluated statistically by using probability or ; for example, at the 95% confidence interval which means that the price may swing mostly in 5 days out of 100 days. In industry we use normal distribution to simulate value at risk but nowadays we start to use T distribution in computing the value at risk so we want to know that how does it different between the value at risk which com computing by using normal distribution and T distribution. From this research, we can conclude in 2 cases here. First case: The investing group has few data, that have 1% to 2.5% confidence interval; value at risk from normal distribution is more than value at risk from T distribution. Besides, the data at 3% to 5% confidence interval; value at risk from both normal and T distribution are differentiated at 3% confidence interval. Second case : The investing group, has more than 3 data, that have 1% to 3% confidence interval ; value at risk from normal distribution is more than value at risk from T distribution. Besides, the data at 3.5% to 5% confidence interval; value at risk from both normal and T distribution are differentiated at 3.5% confidence interval |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.401 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การเปรียบเทียบตัวแแบบกาส์เซียนกับตัวแบบทีในการคำนวณมูลค่าความเสี่ยง |
en_US |
dc.title.alternative |
A comparison of gaussian model and student-T model in computation of value at risk |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
สถิติศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
สถิติ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.401 |
|