dc.contributor.advisor |
วรศักดิ์ มหัทธโนบล |
|
dc.contributor.author |
ยุพดี สวัสดิชัย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2014-03-25T11:58:23Z |
|
dc.date.available |
2014-03-25T11:58:23Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41870 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
en_US |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาบทบาทของจีนต่อวิกฤตินิวเคลียร์บนคาบสมุทรเกาหลี คือ ระหว่างปี ค.ศ. 1992 – 2006 การศึกษานี้ได้นำเอาทฤษฎีการเชื่อมโยง ของ เจมส์ เอ็น. โรสเนา หรือกรอบความคิดเรื่องการเมืองเกี่ยวพัน (linkage politics) เป็นแนวในการวิเคราะห์ โดยวิทยานิพนธ์นี้ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ปัจจัยภายนอกประเทศเป็นแรงผลักดันมากกว่าปัจจัยภายในประเทศต่อการตัดสินใจของจีน ในการเข้าไปมีบทบาทในวิกฤตินิวเคลียร์บนคาบสมุทรเกาหลี จากการศึกษาพบว่า บทบาทของจีนมีผลสืบเนื่องมาจากนโยบายของจีนต่อคาบสมุทรเกาหลี ในการมุ่งรักษาสันติภาพและเสถียรภาพบนคาบสมุทรเกาหลี และความต้องการให้คาบสมุทรเกาหลีปลอดจากอาวุธนิวเคลียร์ มีส่วนทำให้จีนเข้าไปมีบทบาทต่อวิกฤตินิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจากปัญหาโครงการพัฒนาและครอบครัวอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ ซึ่งทำให้สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรคือ เกาหลีใต้กับญี่ปุ่น ต่างหวั่นกลัวต่อภัยคุกคามจากเกาหลีเหนือดังนั้น จีนจึงเข้าไปมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์และใช้แนวทางสันติวิธีในการแก้ไขวิกฤตินิวเคลียร์บนคาบสมุทรเกาหลี ด้วยการเข้าไปเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย เจ้าภาพในการเจรจา ตลอดจีนคอยโน้มน้าวเกาหลีเหนือให้เข้าร่วมในการเจรจาสันติภาพ 4 ฝ่ายและการเจรจาสันติภาพ 6 ฝ่าย ในส่วนปัจจัยภายในของจีน ได้แก่ แนวคิดของผู้นำ นโยบายภายในประเทศต่าง ๆ ความสัมพันธ์เชิงประวัติศาสตร์ระหว่างจีนกับเกาหลีเหนือ และนโยบายการค้าและการลงทุนกับต่างประเทศ เป็นต้น ในขณะที่ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความสำคัญทางด้านภูมิรัฐศาสตร์ แรงผลักดันจากมหาอำนาจและอื่น ๆ ตลอดจนภาวะโลกาภิวัตน์ ด้วยปัจจัยเหล่านี้ ทำให้จีนต้องการให้เกาหลีเหนือยกเลิกโครงการอาวุธนิวเคลียร์ เพื่อให้คาบสมุทรเกาหลีและเอเชียตะวันออกมีเสถียรภาพ จะได้เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศของจีนให้ดำเนินต่อไปด้วยความราบรื่นและยั่งยืน |
|
dc.description.abstractalternative |
The main focus of this thesis is to study China’s role in the nuclear crisis on the Korean Peninsula between 1992 and 2006. In accordance with the subject, the linkage theory or the concept of linkage politics of James N. Rosenau will be applied and used as the analysis. Moreover this thesis is based on the assumption that China ‘s decision to take role in nuclear crisis on the Korean Peninsula during such period was mainly influenced by the external factors, which continue a more powerful force on China’s decision than internal factors. Studying, found that China’s role in the nuclear crisis stemmed from its policy towards the Korean Peninsula, which stresses on keeping peace and stability on the Korean Peninsula. China’s policy also places much emphasis on establishing a nuclear-free zone in the Korean Peninsula. These factors contributed to China’s role and involvement towards the nuclear crisis, which derived from North Korea’s nuclear development project. It is undeniable that Pyongyang’s nuclear ambition has been threatening the United States, as well as its close allies – South Korea and Japan. Hence, China began its constructive roles as a mediator, the host and adopted peaceful approaches in a bid to pressure Pyongyang to join the party talks. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1197 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เกาหลี (ใต้) -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีน |
|
dc.subject |
จีน -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- เกาหลี (ใต้) |
|
dc.subject |
จีน -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ |
|
dc.subject |
นโยบายต่างประเทศ -- จีน |
|
dc.subject |
โรคเอดส์ -- นโยบายของรัฐ |
|
dc.subject |
โรคเอดส์ -- ไทย |
|
dc.subject |
โรคเอดส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ |
|
dc.subject |
เอชไอวี (ไวรัส) |
|
dc.title |
บทบาทของจีนต่อวิกฤตินิวเคลียร์บนคาบสมุทรเกาหลี (ค.ศ. 1992-2006) |
en_US |
dc.title.alternative |
China's role in nuclear crisis on the Korean Peninsula (1992-2006) |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2007.1197 |
|