dc.contributor.advisor |
วัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์ |
en_US |
dc.contributor.author |
กมล ศรีตั้งรัตนกุล |
en_US |
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
en_US |
dc.date.accessioned |
2015-06-24T06:11:18Z |
|
dc.date.available |
2015-06-24T06:11:18Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
en_US |
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42684 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความกระปรี้กระเปร่าในงาน (vigor) และผลการปฏิบัติงาน (job performance) และทดสอบอิทธิพลส่งผ่านของความยืดหยุ่นทางการรู้คิด (cognitive flexibility) การช่วยเหลือจากเพื่อนร่วมงาน (coworker support) ความยืนหยัดในงาน (task persistence) และการกำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย (difficulty of self-set goal) พนักงานชาวไทยจำนวนสามร้อยเก้าคนจากบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพ ฯ ตอบแบบสอบถามเพื่อรายงานความรู้สึกกระปรี้กระเปร่าในงาน ความยืดหยุ่นทางการรู้คิด การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน การกำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย และผลการปฏิบัติงานตามการประเมินของตนเอง หัวหน้างานของกลุ่มตัวอย่างประเมินการยืดหยัดในงานและผลการปฏิบัติงานของกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ตัวแปรส่งผ่านด้วยวิธี bootstrapping พบว่า ความกระปรี้กระเปร่าในงานเป็นตัวทำนายทางบวกต่อผลการปฏิบัติงาน (B = .98, R2 = .35, F(3,305) = 53.53, p < .001) ความยืดหยุ่นทางการรู้คิด (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .12, BCs 95% CI [.07, .19]) ความยืนหยัดในงาน (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .16, BCs 95% CI [.08, .25]) และการกำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .07 , BCs 95% CI [.01, .14]) เป็นตัวแปรส่งผ่านทางบวกในความสัมพันธ์ระหว่างความกระปรี้กระเปร่าในงานกับผลการปฏิบัติงาน ในขณะที่การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงานไม่เป็นตัวแปรส่งผ่าน (ค่าประมาณขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .01, BCs 95% CI [-.06, .07]) |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The aims of the current study are to examine the relationship between vigor and job performance, and to test the mediating effects of cognitive flexibility, co-worker support, task persistence, and difficulty of self-set goals on the relationship. Three hundred and nine Thai employees from private organizations in Bangkok Metropolitan region reported their vigorous feeling, cognitive flexibility, co-worker support, difficulty of self-set goal, and perception of their own job performance. Participants’ immediate supervisor provided assessments of participants’ task persistence and overall job performance. A mediating analysis using bootstrapping indicates that, as expected, vigor can significantly predict job performance (B = .98, R2 = .35, F(3,305) = 53.53, p < .001). Cognitive flexibility (indirect effect = .12, BCs 95% CI [.07, .19]), task persistence (indirect effect = .16, BCs 95% CI [.08, .25]), and difficulty of self-set goal (indirect effect = .07 , BCs 95% CI [.01, .14]) significantly mediate the effect of vigor on job performance, while co-worker support does not (indirect effect = .01, BCs 95% CI [-.06, .07]). |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.157 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การทำงาน -- แง่จิตวิทยา |
|
dc.subject |
จิตวิทยาประยุกต์ |
|
dc.subject |
Work -- Psychological aspects |
|
dc.subject |
Psychology, Applied |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างความกระปรี้กระเปร่าในงานกับผลการปฏิบัติงานโดยมีความยืดหยุ่นทางการรู้คิด การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน ความยืนหยัดในงาน และการกำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย เป็นตัวแปรส่งผ่าน |
en_US |
dc.title.alternative |
RELATIONSHIP BETWEEN VIGOR AND JOB PERFORMANCE: THE MEDIATING EFFECTS OF COGNITIVE FLEXIBILITY, COWORKER SUPPORT, TASK PERSISTENCE, AND DIFFICULTY OF SELF-SET GOALS |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาประยุกต์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
watch.boonya@gmail.com |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2013.157 |
|