DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางคลินิก กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ของเด็กสมาธิสั้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor จินตนา ยูนิพันธุ์
dc.contributor.advisor สุนิศา สุขตระกูล
dc.contributor.author มยุรา ชัยเดช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2015-07-17T02:25:44Z
dc.date.available 2015-07-17T02:25:44Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44056
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยทางคลินิก กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเด็กสมาธิสั้น 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และ ปัจจัยทางคลินิก กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเด็กสมาธิสั้นที่มีอายุ 6 - 11 ปี จำนวน 187 คน กลุ่มตัวอย่างคือ บิดา - มารดาหรือผู้ปกครองของเด็กสมาธิสั้น ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลหรือสถาบันสังกัดกรมสุขภาพจิต เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ1) แบบวัดความรุนแรงของอาการ 2) แบบประเมินพฤติกรรม 3) แบบประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ฉบับภาษาไทย เครื่องมือทุกชุดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของเครื่องมือ เท่ากับ .92, .90, และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยที่สำคัญคือ คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเด็กสมาธิสั้นโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเด็กสมาธิสั้น ได้แก่ ปัจจัยทางคลินิก โดยพบว่าปัญหาพฤติกรรมกับเพื่อน ปัญหาพฤติกรรมทางสังคม และความรุนแรงของอาการ มีความสัมพันธ์ทางลบ (r = -.270, -.507, -.398) กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของเด็กสมาธิสั้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 en_US
dc.description.abstractalternative The purposes of this descriptive research are: 1) to study the personal and clinical factors with health related quality of life among children with ADHD, and 2) to study the relationships between personal factors and clinical factors with health related quality of life among children with ADHD, aged 6 – 11 years. The participants were 187 parents or caregivers of children with ADHD, from outpatient services in hospitals of the Department of Mental Health. Research instruments were 1) SNAP - IV [Swanson, Nolan and Pelham IV Questionnaire (Short Form)]. 2) Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ). 3) CHIP -CE/PRF [Child Health and Illness Profile – Child Edition/Parent Report Form (Thai version)]. All instruments were tested for content validity by a panel of experts. The reliabilities were .92, .90, and .96 respectively. Correlation analysis was done by Pearson’s Product Moment Coefficient. Major findings were: Overall and each aspect of health related quality of life among children with ADHD were at a good level. The clinical factors as peer behavior problems, social behavior problems and severity of symptoms were significantly and negatively correlated (r = -.270, -.507, -.398) with health related quality of life among children with ADHD, at.01 level. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.406
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เด็กสมาธิสั้น -- สุขภาพและอนามัย en_US
dc.subject คุณภาพชีวิต en_US
dc.subject Attention-deficit-disordered children -- Health and hygiene en_US
dc.subject Quality of life en_US
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางคลินิก กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ของเด็กสมาธิสั้น en_US
dc.title.alternative Relationships between personal factors, clinical factors, and health related quality of life amomg children with attention-deficit hyperactivity disorder en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2012.406


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record