dc.contributor.advisor |
วัชราภรณ์ บญญศิริวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ณัฏฐพัชร ตั้งติยะพันธ์ |
|
dc.contributor.author |
ณัฐชา สงวนเกียรติชัย |
|
dc.contributor.author |
อนันต์ เกียรติบำรุงพันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2015-07-24T02:36:00Z |
|
dc.date.available |
2015-07-24T02:36:00Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.other |
Psy 207 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44149 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
en_US |
dc.description |
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งศึกษาถึงบทบาทกำกับของการเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝงต่อผลของการมองจากมุมของผู้อื่นต่อการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง โดยกลุ่มตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยระดับชั้นปริญญาตรี จำนวน 156 คน (เพศชาย 76 คน เพศหญิง 80 คน อายุเฉลี่ย 19.85 ปี) ทำการทดสอบการเชื่อมโยงการเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝง อ่านบทความเกี่ยวกับชีวิตของชาวกัมพูชาและถูกบอกให้พยายามมองจากมุมของบุคคลนั้น (กลุ่มทดลอง) หรือ ให้มองด้วยใจที่เป็นกลาง (กลุ่มควบคุม) และทำการทดสอบการเชื่อมโยงเจตคติรังเกียจกลุ่มต่อชาวกัมพูชาแบบแอบแฝง ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงชั้นแสดงว่า การเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝงไม่มีอิทธิพลปฏิสัมพันธ์กับการมองจากมุมของผู้อื่นในการทำนายการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง ซึ่งไม่สนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยพบผลหลักของการมองจากมุมของผู้อื่นและการเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝงในฐานะตัวทำนายทางบวกของเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง แสดงให้เห็นว่า บุคคลที่มองจากมุมของผู้อื่นจะยิ่งมีเจตคติรังเกียจกลุ่มสูงกว่าบุคคลที่ไม่ได้มองจากมุมของผู้อื่น และยิ่งบุคคลมีการเห็นคุณค่าแห่งตนแบบแอบแฝงสูงก็จะยิ่งมีเจตคติรังเกียจกลุ่มสูงขึ้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The current study examined the moderating role of implicit self-esteem on the effect of perspective taking on implicit prejudice reduction. One hundred and fifty-six undergraduate students (76 males, 80 females, average age 19.85 years) completed an implicit association test of implicit self-esteem, read a story of a hypothetical Cambodian student and were told to either take a hypothetical person’s perspective (experimental group) or to be objective (control group), and then completed an implicit association test measure of implicit prejudice toward Cambodian. Hierarchical regression analysis indicates that the interaction between perspective taking and implicit self-esteem is not significant in predicting implicit prejudice against Cambodian, and thus does not support our hypothesis. However, there are significant main effects of perspective taking and implicit self-esteem on prejudice, such that perspective takers show greater implicit prejudice than do their control group counterparts, and that participants with higher implicit self-esteem show greater implicit prejudice than those with lower implicit self-esteem. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความนับถือตนเอง |
en_US |
dc.subject |
ความคิดทางลบ |
en_US |
dc.subject |
Self-esteem |
en_US |
dc.subject |
Negative thinking |
en_US |
dc.title |
ผลของการมองจากมุมของผู้อื่นต่อการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง : การศึกษาการเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝงในฐานะตัวแปรกำกับ |
en_US |
dc.title.alternative |
The effect of perspective taking on implicit prejudice reduction : a study of implicit self-esteem as a moderator |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
watch.boonya@gmail.com |
|