dc.contributor.advisor |
อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช |
|
dc.contributor.author |
ฉัตรดนัย ศรชัย |
|
dc.contributor.author |
นชา พัฒน์ชนะ |
|
dc.contributor.author |
สุณิสา พรกิตติโชติเจริญ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2015-07-24T02:59:44Z |
|
dc.date.available |
2015-07-24T02:59:44Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.other |
Psy 204 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44154 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 |
en_US |
dc.description |
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013 |
en_US |
dc.description.abstract |
โครงงานทางจิตวิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบมองโลกในแง่ดี บุคลิกภาพแบบเป็นมิตร การเห็นคุณค่าในตนเอง และความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคมที่มีต่อการยอมรับการโกหกและการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อตนเอง และการโกหกเพื่อบุคคลอื่นของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน ผู้ร่วมการวิจัยทำมาตรวัดบุคลิกภาพแบบมองโลกในแง่ดี มาตรวัดบุคลิกภาพแบบประนีประนอม มาตรวัดการมองเห็นคุณค่าในตนเอง มาตรวัดความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคม และมาตรวัดการยอมรับการโกหก และความเป็นไปได้ในการโกหกเพื่อตนเองและเพื่อผู้อื่น โดยให้อ่านสถานการณ์สมมติอย่างละ 2 สถานการณ์ ผลการวิจัย พบว่า 1. บุคลิกภาพแบบมองโลกในแง่ดีไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับการยอมรับการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อผู้อื่นทั้งสองสถานการณ์ (rสถานการณ์ที่1 = -.050 p = .285, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 = -.032 p = .358, หนึ่งหาง) และเพื่อตนเองทั้งสองสถานการณ์ (rสถานการณ์ที่1 =.038 p = .333, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 =-.141 p = .053, หนึ่งหาง) 2. บุคลิกภาพแบบเป็นมิตรไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับการยอมรับการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อผู้อื่นทั้งสองสถานการณ์ (rสถานการณ์ที่1 = .084 p = .170, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 = -.067 p = .224, หนึ่งหาง) และเพื่อตนเองทั้งสองสถานการณ์ (rสถานการณ์ที่1 = -.024 p = .392, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 = -.036 p = .342, หนึ่งหาง) 3. การเห็นคุณค่าในตนเองมีสหสัมพันธ์ทางลบกับความเป็นไปได้ในการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อตนเอง (rสถานการณ์ที่1= -.176, p <.05, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 = -.207, p < .01, หนึ่งหาง) 4. การเห็นคุณค่าในตนเองไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับความเป็นไปได้ในการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อผู้อื่น (rสถานการณ์ที่1= -.223 p <.01, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 = -.011 p = .452, หนึ่งหาง) 5. ความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคมไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับความเป็นไปได้ในการโกหก (rสถานการณ์ที่1 = -.098 p =.133, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 = -.074 p = .199, หนึ่งหาง) และยอมรับการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อผู้อื่น (rสถานการณ์ที่1 = .096 p =.274, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 =-.052 p = .556, หนึ่งหาง) 6. ความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคมมีสหสัมพันธ์ทางลบกับความเป็นไปได้ในการโกหก (rสถานการณ์ที่1 = -.294 p <.01, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 =-.229 p < .01, หนึ่งหาง) และยอมรับการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อตนเองเฉพาะสถานการณ์ที่ 2 (rสถานการณ์ที่1 =.024 p =.391, หนึ่งหางและ rสถานการณ์ที่2 =-.204 p < .01, หนึ่งหาง) 7. บุคลิกภาพแบบมองโลกในแง่ดี บุคลิกภาพแบบเป็นมิตร การมองเห็นคุณค่าในตนเอง และความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคม สามารถร่วมกันทำนายได้เพียงความเป็นไปได้ในการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อตนเองในสถานการณ์ที่ 1 และ2 (R2 = .12, p< .01 และ R2 = .11, p < .01ตามลำดับ) และการยอมรับการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อตนเองได้ในสถานการณ์ที่ 1 (R2 = .07, p < .05)เท่านั้นแต่ไม่สามารถทำนายการยอมรับการโกหกและความน่าจะเป็นในการโกหกในรูปแบบการโกหกเพื่อผู้อื่นได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The present study investigated the effects of agreeableness, optimism, social desirability, and self-esteem on acceptability and likelihood of lying. One hundred and twenty students of Chulalongkorn University completed a battery of questionnaires assessing acceptability and likelihood of lying, self-esteem, optimism, agreeableness, and social desirability.participants read two scenario situations of each of self-and-other-oriented lies and rated measure of acceptability and likelihood of lying Results reveal that: 1. Optimism had no significant correlations with acceptability of both other-oriented (r situation1 = -.050 p = .285 & r situation2 = -.032 p = .358, one-tailed) and self-oriented lies. (r situation1 =-.038 p = .333 & r situation2 =-.141p = .053, one-tailed) 2. Agreeableness had no significant correlations with acceptability of both other-oriented (r situation1 = .084 p = .170 & r situation2 = -.067 p = .224, one -tailed) and self-oriented lies. (r situation1 = -.024 p = .392 & r situation2 = -.036 p = .342, one -tailed) 3. Self-esteem had significant negative correlation with likelihood of lying of a self - oriented lie. (r situation1 = -.176, p <.05 & r situation2 = -.207, p < .01, one -tailed) 4. Self-esteem had no significant positive correlation with likelihood of lying of an other - oriented lie. (r situation1 = -.223 p <.01 & r situation2 = -.011 p = .452, one -tailed) 5. Social - desirability had no significant correlations with acceptability of lying of a self-oriented lie (r situation1 = -.098 p =.133 & r situation2 = -.074 p = .199, one -tailed) and likelihood of lying of a self-oriented lie. (r situation1 =.096 p =.137& r situation2 =-.052 p = .278, one -tailed) 6. Social - desirability had significant negative correlations with acceptability of lying of an other-oriented lie (r situation1 = -.229p <.01&rsituation2 =-.229 p < .01, one -tailed) and likelihood of lying of an other-oriented lie in only the second situation .(r situation1 =.024 p =.391 & r situation2 =-.204 p < .01, one -tailed) 7. Optimism, agreeableness, self-esteem, and social-desirability together could predict just likelihood of lying of a self - oriented lie in both situations (R2 = .12, p< .01 & R2 = .11, p < .01)and acceptability of lying of a self - oriented lie in the first situation (R2 = .07, p < .05) but could not predictacceptability and likelihood of lying of an other - oriented lie in both situations |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การมองโลกในแง่ดี |
en_US |
dc.subject |
ความนับถือตนเองในวัยรุ่น |
en_US |
dc.subject |
การพูดเท็จ |
en_US |
dc.subject |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษา |
en_US |
dc.subject |
Optimism |
en_US |
dc.subject |
Self-esteem in adolescence |
en_US |
dc.subject |
Lying |
en_US |
dc.subject |
Chulalongkorn University -- Students |
en_US |
dc.title |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบมองโลกในแง่ดี บุคลิกภาพแบบเป็นมิตร การเห็นคุณค่าในตนเอง และความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคมต่อการยอมรับการโกหกและความเป็นไปได้ในการโกหก |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of optimism, agreeableness, self-esteem, and social desirability on acceptability and likelihood of lying |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
apitchaya.c@chula.ac.th |
|